Page 85 -
P. 85
์
ิ
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
63
ิ
ความสะดวก อยู่ใกล้แหล่งผลต และลานเทปาล์มน้ำมันส่วนใหญ่จะมีทีมตดปาล์มน้ำมันให้บริการ นอกจากนั้น
ั
ยังมีการบริการตัดแต่งทางใบและใส่ปุ๋ยร่วมด้วย
โดยพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้มีลานเททั้งหมด 596 ลานเท โดยผลปาล์มทั้งหมดที่ลานเทรับซื้อได ้
์
ทั้งหมดจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่ลานเทขนส่งผลปาล์มไปขายให้กับโรงงานสกัดน้ำมันปาลมในพื้นท ี่
ี่
และ 2. ส่วนทลานเทขนส่งผลปาล์มไปขายให้กับโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มนอกเขตพื้นที่ ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ตรัง
ั
ปัตตานี พังงา ประจวบคีรีขันธ์ และกาญจนบุรี นอกจากนั้น ยังมีผลปาล์มอีกส่วนหนึ่งที่ไหลเข้ามาจากจงหวัด
้
์
์
ี่
อื่นอีกประมาณ 1.88 ล้านตัน ส่งผลให้โรงสกัดน้ำมันปาลมในพื้นททั้งหมด สามารถรับซื้อผลปาลมไดประมาณ
ี่
ร้อยละ 78.47 ของผลปาล์มทั้งหมด (ผลปาล์มทออกสู่ตลาดและผลปาล์มสดที่ไหลมาจากจังหวัดอื่น ๆ)
ั้
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้มีโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มทงหมด 78 โรงงาน (โรงงานที่จังหวัดระนองจำนวน
3 แห่ง หยุดกิจการชั่วคราว) กำลังการผลิตรวม 14.42 ล้านตันต่อปี โดยประกอบด้วย โรงสกัดแบบหีบแยก
เมล็ดใน (โรง A) จำนวน 42 โรงงาน (มีโรงงานที่จังหวัดระนองจำนวน 3 แห่ง หยุดกิจการชั่วคราว) และโรงงาน
แบบหีบรวมเมล็ดใน (โรง B) จำนวน 36 โรงงาน นอกจากนั้น จังหวัดสุราษฎร์ธานียังมีโรงงานที่สกัดเมล็ดในอีก
จำนวน 3 โรงงาน กำลังการผลิตรวม 3.65 ล้านตันเมล็ดในต่อปี โดยวัตถุดิบ (เมล็ดใน) มากกว่าร้อยละ 60 จะ
ุ
มาจากนอกเขตจังหวัด เช่น จังหวัดกระบี่และพังงา ส่วนเมล็ดในในจังหวัดชมพร ระนอง และนครศรีธรรมราช
็
ที่ได้ทั้งหมดในจังหวัดต้องถูกขนส่งไปขายนอกเขตจังหวัด เนื่องจากทั้ง 3 จังหวัดไม่มีโรงงานสกัดน้ำมันเมลดใน
พื้นท ี่
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างความต้องการใช้ผลปาล์มตามกำลังการผลิตของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มในพื้นท ี่
ซึ่งมีประมาณ 13.83 ล้านตันต่อปี (ไม่รวมกำลังการผลิตของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มในพื้นที่จังหวัดระนองท ี่
ี่
ั
หยุดกิจการชั่วคราว) กับผลปาล์มที่โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มในพื้นทสามารถรับซื้อได้ประมาณ 8.21 ล้านตน
ั
ี่
ส่งผลให้โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มในพื้นทสามารถใช้กำลังผลิต (Utilization) ได้เพียงร้อยละ 44.73 ของกำลง
การผลิตเท่านั้น
สำหรับน้ำมันปาล์มที่โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้สามารถผลิตได้ จะ
ประกอบด้วย น้ำมันปาล์มดิบ (CPO) และน้ำมันเมล็ดใน (CPKO) โดยโรงงานสกัดน้ำมันปาลมจะพิจารณาขาย
์
ิ
น้ำมันปาล์มใน 3 ช่องทาง คือ 1. ขายให้กับโรงกลั่นน้ำมันปาล์ม (14 โรงงาน) 2. ขายให้กับโรงงานผลต
ไบโอดีเซล (12 โรงงาน) และ 3. หากราคาสามารถแข่งขันได จะมีการส่งออกบางส่วน ทงนี้ โรงสกัดน้ำมัน
ั้
้
ปาล์มอาจนำน้ำมันปาล์มที่ผลิตได้ขายให้กับผู้ซื้อโดยตรงหรือขายผ่านเทรดเดอร์/ โบร์กเกอร์ ส่วนน้ำมันปาล์มท ี่
เหลือโรงงานสกัดจะเก็บไว้ในแท็งก์เก็บภายในโรงงานหรือนำไป ากไว้ที่คลังรับ าก (12 คลังรับ าก)