Page 82 -
P. 82
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
60
2.3 ผู้ส่งออกน ำมันปาล์มดิบ น้ำมันปาล์มดิบบางส่วนที่ไม่ได้ถูกจำหน่ายให้โรงกลั่นน้ำมันปาลม
์
บริสุทธิ์ โรงงานไบโอดีเซล หรืออุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ จะถูกขนส่งต่อไปยังผู้ส่งออกน้ำมัน
่
์
ิ
์
เพื่อนำส่งออกไปยังตางประเทศ ซึ่งการส่งออกน้ำมันปาลมดบนี้สามารถสร้างมูลคาเพิ่มให้ปาลม
่
ี่
น้ำมันได้ไม่มากนัก อีกทั้งการทราคาน้ำมันปาล์มดิบของไทยยังมีราคาสูง จึงทำให้ไม่สามารถ
แข่งขันกับประเทศอื่นได ้
3. อุตสาหกรรมแปรรูปปลายน ำ ประกอบด้วย ขั้นตอนในการนำน้ำมันปาล์มดิบมาผ่านกระบวนการ
กลั่นให้เป็นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปาล์มน้ำมัน ซึ่งจะมีการนำ
น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ไปใช้ในการบริโภค ผลิตไบโอดีเซล รวมถึงใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่าง ๆ
ุ
3.1 โรงงานกลั่นน ำมันปาล์มบรสุทธิ นำน้ำมันปาล์มดิบจากโรงสกัดมากลั่นเป็นน้ำมันปาล์มบริสทธิ์
ิ
ในรูปแบบน้ำมันพืชปรุงอาหารและน้ำมันทอดในอุตสาหกรรมเพื่อนำไปใช้ในการบริโภค
ภายในประเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ จะนำไปใช้ในการผลิตไบโอดีเซลและใช้เป็นวัตถุดิบใน
การผลิตของอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่าง ๆ รวมถึงมีการส่งออกไปยังต่างประเทศ โดยผู้ประกอบการ
์
กลุ่มนี้มีทั้งส่วนที่รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มมากลั่น ซื้อผลปาลมมาสกัดใน
ั
โรงงานก่อนที่จะส่งน้ำมันปาล์มดิบเข้าโรงกลั่น หรือมีสวนปาล์มเป็นของตนเองเพื่อบริหารจดการ
วัตถุดิบเข้าโรงงานได้อย่างเพียงพอตั้งแต่ต้นทาง ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงงานกลั่นน้ำมันปาล์ม
บริสุทธิ์ 21 ราย (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564) และมีกำลังการผลิตรวม 2.50 ล้านตันตอปี
่
ี
(ประเมินกำลังการผลิตเมื่อป พ.ศ. 2562)
3.2 ผู้ส่งออกน ำมันปาล์มบริสุทธิ น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์บางส่วนที่เหลือจากการบริโภคภายในประเทศ
จะถูกส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา พม่า ลาว เป็นต้น โดยส่วนใหญ่โรงงานกลั่น
น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์จะเป็นผู้ดำเนินการส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เอง
3.3 คลังฝากน ำมนปาล์ม เป็นสถานที่รับ ากน้ำมันปาล์มสำหรับโรงงานทมีถังเก็บไม่เพียงพอ โดยมี
ั
ี่
การเก็บค่าบริการในการรับ าก ปัจจุบันประเทศไทยมีคลัง ากน้ำมันปาล์มจำนวน 12 ราย
(ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564)
3.4 โรงงานไบโอดีเ ล เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย ปัจจุบันมีการส่งเสริมให้
ผลิตไบโอดีเซลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนน้ำมันดีเซลในรถยนต์ที่ต้องมีการนำเข้ามาจาก
ต่างประเทศมากขึ้น โดยการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยแบ่งได้ 2 แบบ ตามประเภทของ
ิ
ิ
วัตถุดิบ คือ 1. การผลิตจากน้ำมันปาล์มดิบ หรือน้ำมันปาล์มสเตียรีน ซึ่งเป็นการผลิตเชงพาณชย์
มีการผลิตปริมาณมากแล้วขายให้โรงกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเพื่อนำไปผสมกับน้ำมันดีเซลเพื่อ
จำหน่าย และ 2. การผลิตจากน้ำมันพืชที่ผ่านการใช้งานแล้ว ซึ่งมีสัดส่วนปริมาณการผลตน้อย
ิ
เป็นการผลิตเพื่อใช้ในชุมชน โดยประเทศไทยมีโรงงานไบโอดีเซลจำนวน 15 ราย (ข้อมูล ณ เดือน
กรกฎาคม 2564) กำลังการผลิตรวม 8.31 ล้านลิตรต่อวัน (ประเมินกำลังการผลิตเมื่อปี พ.ศ.
2562)