Page 70 -
P. 70
ื
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
48
้
เพิ่มเติมสำหรับเงื่อนไขการนำเข้าน้ำมันปาลม จึงอาจมีบางช่วงที่อินเดียมีปริมาณการนำเขาลดลงถึง 2.31 ลาน
์
้
ตัน (ช่วงปี พ.ศ. 2561 - 2562)
• จากความพยายามปรับปรุงความสัมพันธ์ในระดับรัฐบาลระหว่างอินเดียและมาเลเซีย ส่งผลทำให้
อินเดียหันกลับมาซื้อน้ำมันปาล์มจากมาเลเซียอีกครั้ง หลังจากได้ใช้มาตรการเข้มงวดในการนำเข้า
น้ำมันปาล์มจากมาเลเซียตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 เพื่อตอบโต้มาเลเซียที่วิพากษ์วิจารณ ์
การดำเนินนโยบายภายในของอินเดียในแคว้นแคชเมียร์ และการออกกฎหมายสัญชาติฉบับใหม่ท
ี่
กีดกันชาวมุสลิม
• มาเลเซียมีการขยายตลาดส่งออกไปยังประเทศในตะวันออกกลาง แอฟริกา และเอเชียตะวันออกเฉียง
้
ใต เพื่อลดการพึ่งพาตลาดส่งออกเดิม ส่งผลทำให้ปากีสถาน บังคลาเทศ ซาอุดิอาระเบีย และกานา
มีการนำเข้าน้ำมันปาล์มเพิ่มมากขึ้น
• สงครามทางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกาเริ่มคลี่คลาย ส่งผลทำให้จีนหันกลับมาซื้อถั่วเหลอง
ื
จากสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นเพื่อทดแทนการนำเข้าน้ำมันปาล์ม
• อินเดียได้มีการประกาศใชมาตรการจำกัดการนำเข้าน้ำมันปาล์มและเขมงวดในการนำเขาน้ำมันปาลม
้
์
้
้
โดยได้มีการออกประกาศเพิ่มเติมเงื่อนไขการนำเข้าน้ำมันปาล์มเพิ่มขึ้น เช่น การพิจารณาจากข้อตกลง
ก่อนการสั่งซื้อ การพิจารณาการนำเข้าจากประวัติย้อนหลัง 3 ปี การลดระยะเวลาใบอนุญาตจากเดม
ิ
18 เดือน เหลือ 6 เดือน การกำหนดเงื่อนไขการขอใบอนุญาตนำเข้าและการตัดสิทธิการนำเข้า รวมทั้ง
การเพิ่มความเข้มงวดพิธีการทางศลกากร ส่งผลทำให้อินเดียมีการนำเข้าน้ำมันปาล์มลดลงจากเฉลยปี
ุ
ี่
ละ 9 - 10 ล้านตัน ลดลงเหลือเฉลี่ยปีละ 7 - 8 ล้านตัน
• สหภาพยุโรปมีการนำเข้าน้ำมันปาล์มเฉลี่ยปีละกว่า 6 ล้านต้น และมากกว่าร้อยละ 46 เป็นการนำเข้า
เพื่อใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ซึ่งขณะนี้สหภาพยุโรปอยู่ระหว่างการกำหนดหลักเกณฑ์การใช ้
พลังงานทดแทนใหม่ (Renewable Energy Directive II, RED II) โดยมีเป้าหมายในการปรับลดการใช ้
น้ำมันปาล์มลงและหันไปใช้เชื้อเพลิงชีวภาพใหม่ ๆ ทดแทนมากขึ้น ซึ่งหากมาตรการดังกล่าวมีผล
บังคับใช้จะส่งผลทำให้ความตองการใชน้ำมันปาล์มเพื่อเป็นพลังงานทดแทนของสหภาพยุโรปลดลงปี
้
้
ละ 2.70 ล้านตัน (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563a; United States Department of
Agriculture, 2021)
ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าประเทศคู่แข่งทสำคัญในตลาดโลกของประเทศไทย คือ มาเลเซียและอินโดนีเซีย โดย
ี่
ิ
ั
มาเลเ ีย มีข้อไดเปรียบในดานสายพันธุ์ปาลมที่มีคณภาพสูง ปริมาณผลผลตต่อไร่ทสูงมาก (มาเลเซีย 3.3 ตน
ี่
้
ุ
้
์
ู
ต่อไร่ อินโดนีเซีย 2.9 ตันต่อไร่ ขณะที่ไทยมีผลผลตเฉลย 2.7 ตันต่อไร่) และมีอัตราการให้น้ำมันปาลมสงกว่า
์
ิ
ี่
ไทย (มาเลเซียเฉลี่ยร้อยละ 20 ไทยเฉลี่ยร้อยละ 18) รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายส่งเสริมที่ชัดเจน โดยบรรจ ุ
อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันให้เป็น 1 ใน 12 ภาคส่วนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในแผน The
National Key Economic Areas (NKEA) โดยมุ่งที่จะเป็น HUB ทางด้านปาล์มน้ำมันของโลก รวมทั้งได้วาง
ิ
แผนการวิจัยและพัฒนาด้านปาล์มน้ำมันแบบครบวงจรระยะยาว เริ่มจากต้นน้ำ ได้แก่ การเพิ่มผลผลต
การพัฒนาแรงงาน การปรับปรุงกระบวนการสกัดน้ำมัน การผลิตก๊าซชีวภาพ และปลายน้ำ ได้แก่ การพัฒนา