Page 82 -
P. 82

ิ
                                           ิ
                              ื
                                                                                ิ
                                               ์
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสถานการณ์ทางการเมือง สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนทัศนคติ
                                                                           ั
                 ของผู้นำหรือการตัดสินใจ ซึ่งจะทำให้การพจารณาปัญหาสอดคล้องกบสภาพความเป็นจริงที่เปลี่ยนแปลงไป
                                                     ิ
                                                                             ้
                 ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขทางเลือกในการแกไขปัญหา

                                ประการที่ 2 การทำนาย (Forecasting) เป็นการทำนายสภาพแวดล้อมและผลลัพธ์ของการ

                 ปฏิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อกำหนดทางเลือกซงในการกำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหานั้นนั้นจะต้อง
                                                            ึ่
                 พิจารณาถึงข้อดีข้อเสียของแต่ละทางเลือก ในการทำนายจะต้องใช้ความรู้ด้านวิชาการจากสาขาต่างๆ เพอให้
                                                                                                        ื่
                 การคาดหมายมีประสิทธิผล ผลกระทบหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจยอมรับทางเลือกในการนำไป

                                                                                                     ิ
                 ปฏิบัตินั้นขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของทางเลือกและสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมที่ปรากฏอยู่ ซึ่งจะต้องพจารณา
                 ทางเลือกที่เป็นได้มากที่สุด ถ้าหากเป็นการทำนายอนาคตในระยะยาว ซึ่งโอกาสที่จะเกิดขึ้นนั้นไม่มีความ

                 แน่นอน นักวิเคราะห์จะต้องมีการกำหนดเงื่อนไขต่างๆ


                                ประการที่ 3 การเสนอแนะ (Recommendation) เป็นการจัดลำดับทางเลือกต่างๆ โดย

                 จะต้องวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางการเมือง สภาพแวดล้อม และค่านิยมของผู้ตัดสินใจ

                 หากการเสนอแนะทางเลือกไม่สอดคล้องกับสถานการณ์หรือค่านิยมของผู้ตัดสินใจ ทางเลือกนั้นอาจไม่ได้รับ
                 การนำปฏิบัติการเสนอแนะนอกจากใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์แล้วยังต้องใช้ข้อมูลเชิงปทัสถานประกอบด้วย

                 เนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับค่านิยมของผู้ตัดสินใจ และผู้ตัดสินใจมักจะตัดสินเลือกทางเลือกที่สอดคล้อง
                 กับค่านิยมของตนเองเสมอ



                                ประการที่ 4 การกำกับนโยบาย (Monitoring) เป็นการตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและ
                 ผลของนโยบายที่ผ่านมา เพื่อนำมาปรับปรุงให้การปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และผลลัพธ์นโยบาย


                                ประการที่ 5 การประเมินผล (Evaluation) เป็นการตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าหรือ

                 ค่านิยมของแนวทางปฏิบัติของนโยบายในอดีตหรือในอนาคต ซึ่งการประเมินสามารถทำได้ทั้งก่อนและหลัง

                 การนำไปปฏิบัติเพอตรวจสอบประสิทธิผลของทางเลือก โดยการเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียที่ประมาณการ
                                 ื่
                 ไว้ในทางเลือกแต่ละทางกับผลลัพธ์นโยบายที่เกิดขึ้นภายหลังจากการนำนโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผล

                 นโยบายจะทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงหลังจากการนำนโยบายไปปฏิบัติ และสามารถบอกได้ว่าทางเลือก

                 แต่ละทางนั้นมีข้อดีข้อเสียอย่างไร








                                                              69
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87