Page 85 -
P. 85

ิ
                                                                                ิ
                                               ์
                                           ิ
                              ื
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                                1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในหรือปัจจัยภายใน คือ การตรวจสอบความสามารถ
                 และความพร้อมของการดำเนินในด้านต่างๆ ที่มีอยู่ภายในองค์กร เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ในส่วนที่เป็นจุด
                 แข็ง (Strengths) เป็นจุดได้เปรียบของการดำเนินงาน เป็นสิ่งที่มีอยู่หรือสามารถทำได้ดีเป็นการใช้

                                                                              ั
                 ทรัพยากรธรรมชาติและความสามารถขององค์กร ซึ่งเป็นพนฐานในการพฒนาความได้เปรียบในการดำเนินงาน
                                                                  ื้
                 และจุดออน (Weaknesses) ในการดำเนินงาน เป็นจุดเสียเปรียบของการดำเนินงาน เป็นปัจจัยที่องค์กรขาด
                         ่
                 รวมถึงการขาดหายไปของส่วนที่ควรเป็นจุดแข็งก็เป็นการแสดงจุดอ่อนที่เกิดขึ้นขององค์กร


                                2) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกหรือปัจจัยภายนอก คือ การประเมิน

                 สภาพแวดล้อม ในการดำเนินงานที่ไม่สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได้ ดังนั้นจึงต้องพยายามทำความ
                 เข้าใจในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของสภาพแวดล้อม ดังกล่าว โดยมี

                 ลักษณะที่เป็นโอกาส (Opportunities) คือความเป็นไปได้ของการดำเนินงาน เป็นการวิเคราะห์

                                                                                                     ุ
                 สภาพแวดล้อมภายนอกที่สามารถแสดงให้เห็นถึงโอกาสใหม่ๆ ในการดำเนินงานขององค์กร  และอปสรรค
                 (Threats) ที่ทำให้สูญเสียโอกาสในการดำเนินงาน เป็นการเปลี่ยนแปลงไปของสภาวะแวดล้อมภายนอกที่

                 ก่อให้เกิดอุปสรรค ซึ่งเป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้นได้ภายในองค์กร


                                การวิเคราะห์ SWOT เป็นเทคนิคการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในของ

                 องค์กรเพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค อธิบายได้ดังนี้ (เกษม, 2555)
                                จุดแขง (S-Strengths) คือ ปัจจัยภายในที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร
                                     ็
                                จุดอ่อน (W-Weaknesses) คือ ปัจจัยภายในที่ไม่เป็นผลดี ไม่มีประโยชน์ต่อองค์กร

                                โอกาส (O-Opportunities) คือ ปัจจัยที่ภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินงานขององค์กร
                                อุปสรรค (T-Threats) คือ ปัจจัยภายนอกที่ไม่เอื้อต่อการดำเนินงานขององค์กร


                                                                                             ่
                                การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในจะทำให้ทราบถึงจุดแข็ง และจุดออน ซึ่งจะช่วยให้
                 องค์กรสามารถใช้ประโยชน์จากโอกาสและหลบหลีกจากข้อจำกัดที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกได้ โดยที่

                 องค์กรจะต้องสามารถระบุปัจจัยภายในองค์กรที่เป็นจุดแข็งได้ เนื่องจากจุดแข็งจะนำไปสู่การสร้าง
                 ความสำเร็จในการดำเนินงาน ซึ่งการวิเคราะห์ SWOT จะเป็นการนำเอาข้อมูลที่ได้มาช่วยในการจัดสรร

                 ทรัพยากรภายใต้ความสามารถที่มีอยู่ขององค์กร (นันทิยา และณรงค, 2545)
                                                                          ์

                                                                            ื้
                                การวิเคราะห์ SWOT เป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบพนฐานของกระบวนการจัดการ เชิงกล
                 ยุทธ์ ในส่วนของการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม (Environmental analysis) โดยที่สามารถนำผลการวิเคราะห์

                 ที่ได้ไปใช้ในการพฒนากลยุทธ์และนโยบายขององค์กร เพอใช้เป็นข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจขององค์กร
                                ั
                                                                  ื่
                 โดยการวิเคราะห์ SWOT เป็นการมองความเป็นไปได้ในอนาคตขององค์กร ภายใต้ความไม่นอนในการ

                                                              72
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90