Page 83 -
P. 83

ิ
                                               ์
                                           ิ
                              ื
                                                                   ิ
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                                2) เทคนิควิธีการวิเคราะห์นโยบาย

                                การวิเคราะห์นโยบายตามกระบวนการขั้นตอนของ ทศพร (2551) ซึ่งได้แบ่งขั้นตอนของ

                 กระบวนการออกเป็น 5 ขั้นตอน และมเทคนิควิธีการในการวิเคราะห์ในแต่ละขั้นตอนดังนี้
                                                 ี


                                ขั้นตอนที่ 1 ปัจจัยนำเข้าของนโยบาย ขั้นตอนที่สำคัญ คือการก่อตัวของนโยบายซึ่งเป็นการ

                 สร้างประเด็นปัญหา หรือการทำให้ปัญหาได้รับความสนใจจากผู้กำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องและถูกบรรจุเข้าสู่
                 วาระเพอทำการตัดสินใจ โดยเทคนิควิธีการที่สามารถนำมาประยุกต์เพอช่วยในการค้นหา เพอสร้างประเด็น
                                                                                              ื่
                                                                            ื่
                        ื่
                 ปัญหาเป็นได้ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เช่น การสำรวจทัศคติ (Opinion surveys) การวิเคราะห์ข้อมูล
                 สถิติต่างๆ (Statistical data) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) การพยากรณ์ (Forecasting) การ

                 ประมวลผล (Evaluation) เป็นต้น


                                ขั้นตอนที่ 2 ทางเลือกของนโยบาย ขั้นตอนที่สำคัญ คือ การกำหนดนโยบาย เป็นการนำเอา

                 ประเด็นปัญหาเข้าสู่การพจารณา กลั่นกรอง และจำกัดวง ทำการคาดคะเนผลได้ผลเสียต่างๆ ตลอดจน
                                        ิ
                                                                                       ื่
                 กำหนดวัตถุประสงค์ พร้อมจัดลำดับความสำคัญ และทำการวิเคราะห์ทางเลือกเพอให้ได้ทางเลือกที่ดีที่สุด
                                                       ื่
                 ออกมา โดยเทคนิคที่สามารถนำมาประยุกต์เพอช่วยในการกำหนดนโยบายนั้นแบ่งออกได้ดังนี้
                                       - เทคนิคที่ช่วยในการกลั่นกรองและจำกัดประเด็นปัญหา ได้แก่ เมตริกซ์เกี่ยวกับ
                 การจัดลำดับความสำคัญ (Priority matrix) และรูปแบบการตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา (Decision trees)

                 เป็นต้น

                                       - เทคนิคเกี่ยวกับการพยากรณ์การคาดคะเนต่างๆ ได้แก่ วิธีเศรษฐมิติ
                 (Econometric Methods) และวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time–series analysis) หรือวิธีเชิงคุณภาพและ

                                                                            ี
                 เทคโนโลยี (Qualitative & tecnological methods) เช่น วิธีเดลฟ (Delphi) การคาดการณ์แนวโน้ม
                 (Trend extrapolation) แบบระบบพลวัต (System dynamics) แบบ Cross–impact analysis เป็นต้น

                 และวิธีการเชิงลงความเห็น (Judgemental methods) เช่น การระดมสมอง (Brainstoming)

                                       - เทคนิควิธีในการวิเคราะห์ทางเลือกต่างๆ นั้น ประกอบไป ตัวแบบการวิจัยเชิง
                 ปฏิบัติการ เช่น การโปรแกรมแบบเส้นตรงและที่มิใช่เส้น เมตริกซ์การตอบแทน (Pay–off matrix) การ

                 วิเคราะห์ความเสียง (Risk Analysis) ทฤษฎีการรอคอย (Queuing theory) และตัวแบบสินค้าคงคลัง

                 (Inventory models) เป็นต้น และแบบเศรษฐศาสตร์-การเงิน-การงบประมาณ เช่น การวิเคราะห์ต้นทุน–
                 ผลประโยชน์ การวิเคราะห์ความออนไหว (Sensitivity analysis) การงบประมาณแบบแผนงาน (Planning
                                              ่
                 Programming Budgeting หรือ PPB) และการงบประมาณแบบฐานศูนย์ (Zero-Base Budgeting หรือ

                 ZBB) เป็นต้น




                                                              70
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88