Page 87 -
P. 87

ิ
                                                                                ิ
                                 ิ
                              ื
                                                                   ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                               ์

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                                                           บทที่ 3
                                                   ระเบียบวิธีดำเนินการวิจัย


                   3.1 ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย


                         1) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับมาตรฐานการรับรองการจัดการป่าไม้ของ FSC ที่เกี่ยวกับสถานภาพทาง

                 กฎหมายของที่ดินในการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่คลอบคลุมทั้งหลักการ (Principles) เกณฑ์ (Criteria)
                 และ ตัวชี้บอก (Indicators) โดยมีหลักการ เกณฑ์ และตัวชี้บอก ที่สำคัญเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของ

                                                                               ่
                 ที่ดินในการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ที่จะทำการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก หลักการที่ 1: ความสอดคล้องกับ
                 กฎหมาย โดยมีเกณฑ์ที่ 1.2 บัญญัติไว้ว่า องค์กรต้องแสดงให้เห็นว่าสถานะทางกฎหมายของหน่วยจัดการ

                 รวมถึงสิทธิในการครอบครองและการใช้ประโยชน์ และขอบเขตของหน่วยจัดการมีการกำหนดไว้อย่างชัดเจน ซึ่ง

                 ประกอบด้วยตัวชี้บอก (Indicator) จำนวน 3 ข้อ และ หลักการที่ 6: คุณค่าและผลกระทบสิ่งแวดล้อม เกณฑ์
                                                                                       ื้
                                                                ื้
                 ที่ 6.10 บัญญัติไว้ว่า หน่วยจัดการที่ปลูกสร้างสวนป่าบนพนที่ที่ถูกเปลี่ยนแปลงมาจากพนที่ป่าธรรมชาติภายหลัง
                 จากเดือนพฤศจิกายน 2537 จะไม่สามารถขอรับการรับรองได้ ยกเว้น ก) มีหลักฐานที่ชัดเจนและเพยงพอว่า
                                                                                                    ี
                 องค์กรไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงหรือโดยออมต่อการเปลี่ยนแปลงพนที่ป่า หรือ ข) การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบ
                                                                       ื้
                                                   ้
                 ต่อพนที่หน่วยจัดการในระดับที่น้อยมาก และได้สร้างผลประโยชน์เพมเติมในระยะยาวให้กับหน่วยจัดการในเชิง
                     ื้
                                                                         ิ่
                 อนุรักษ์ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และปลอดภัย ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้บอกจำนวน 2 ข้อ


                         2) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับสถานภาพทางกฎหมายของที่ดินในประเทศไทยทั้งที่ดินกรรมสิทธิ์

                                                                         ้
                 หรือสิทธิครอบครองของประชาชน และที่ดินรัฐ ที่มีการสร้างสวนไมเศรษฐกิจ


                         3) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลข้อเสนอให้ปรับปรุงแก้ไข (Corrective Action Requests (CARs))
                 ของการตรวจรับรองการจัดการป่าไม้ในประเทศไทยย้อนหลังไม่น้อยกว่า 5 ปี ที่เกี่ยวกับปัญหาสถานภาพทาง

                 กฎหมายของที่ดินในประเทศไทยในการรับรองมาตรฐานการจัดการป่าไม้ โดยการประยุกต์ใช้เทคนิค SWOT

                 Analysis บางส่วนในการวิเคราะห์สภาพปัญหาบนพื้นฐานของ CARs เพื่อประโยชน์ในการจัดทำข้อเสนอแนะ
                 ทางนโยบาย และสำรวจข้อมูลในพนที่จริงในบางกรณีที่ข้อมูลไม่ชัดเจนเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและสาเหตุ เช่น
                                              ื้
                 ที่ดินที่ที่ได้รับอนุญาตจากรัฐให้สร้างสวนไม้เศรษฐกิจในเขตป่าสงวนแห่งชาติขององค์การอตสาหกรรมป่าไม้
                                                                                             ุ
                                ื่
                 เขตปฏิรูปที่ดินเพอการเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) และ ที่ดินที่ไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐแต่ประชาชนมีการสร้างสวนไม้
                 เศรษฐกิจ รวมทั้งใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) ในการสัมภาษณ์บุคคลบางท่านที่เป็น Key

                 person หรือ ผู้นำกลุ่มหรือเกษตรกรเกี่ยวกับสวนไม้เศรษฐกิจจำนวน 3 กลุ่ม 16 คน ได้แก 1) ผู้แทนสหกรณ์
                                                                                            ่
                                                                                     ั
                 สวนป่าภาคเอกชน จำกัด จำนวน 2 คน โดยทำการสัมภาษณเมื่อวันที่ 25 กุมภาพนธุ์ 2564 2) ผู้แทนองค์การ
                                                                    ์
                 อุตสาหกรรมป่าไม้ (ที่ได้รับอนุญาตให้ทำสวนป่าในที่ดินป่าสงวนแห่งชาติ) จำนวน 2 คน โดยทำการสัมภาษณ์เมื่อ

                                                              74
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92