Page 80 -
P. 80

ื
                                               ์
                                 ิ
                                                                                ิ
                                           ิ
                                                                   ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                                1) การมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนแน่นอน
                                2) เป็นแนวทางการปฏิบัติงานหรือเป็นแผนลำดับขั้นตอนที่จะนำไปสู่การบรรลุ เป้าหมายที่
                 กำหนดไว้

                                3) เป็นกิจกรรมหรือหน้าที่ที่ควรกระทำและสามารถเลือกมาปฏิบัติได้
                                4) เป็นกิจกรรมการตัดสินใจที่มีลำดับขั้นตอนในการจะกระทำหรืองดเว้นการกระทำ

                                5) เป็นเอกสารที่มีผลทางกฎหมายจึงต้องประกาศให้ผู้เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วถึง


                                ประชุม (2547) ได้กล่าวว่า ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบของนโยบาย สามารถจำแนกได้

                 2 ประเภท คือ


                                1) ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบพ้นฐาน (Fundamental factor) หมายถึงสิ่งต่างๆ
                                                             ื
                 ที่ผู้กำหนดนโยบายต้องคำนึงถึงอยู่ตลอดเวลาหากไม่คำนึงถึงอาจทำให้นโยบายขาดความสมบูรณ์และ
                 ไม่สามารถปฏิบัติได้เช่นปัจจัยที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้กำหนดนโยบายวิธีการหรือ

                 กระบวนการในการดำเนินนโยบายปัจจัยที่เกี่ยวกับข้อมูลและเอกสารต่างๆ

                                2) ปัจจัยที่เป็นสิ่งแวดล้อม (Environmental factors) หมายถึงสิ่งแวดล้อมในสังคม
                 ที่ผู้กำหนดนโยบายต้องคำนึงถึงเพราะสิ่งแวดล้อมในสังคมมผลกระทบต่อการกำหนดนโยบาย เช่น ปัจจัยทาง
                                                                  ี
                 การเมืองและวัฒนธรรมการเมือง ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทาง ภูมิศาสตร์และ
                 ประวัติศาสตร์ เป็นต้น



                         2.4.4 ตัวแบบของนโยบาย


                                สมบัติ (2552) ได้กล่าวถึงตัวแบบของการกำหนดนโยบายไว้ 7 รูปแบบดังนี้


                                1) ตัวแบบชนชั้นนำ (Elite model) อำนาจการตัดสินใจนโยบายสาธารณะส่วนใหญ่จะ

                 ขึ้นอยู่กับชนชั้นปกครองหรือผู้นำ หลักการคือ ชนชั้นปกครองจะยึดถือความพงพอใจหรือค่านิยมของตนเอง
                                                                                  ึ
                 เป็นเกณฑ์ตัดสินใจนโยบาย ผู้ตามที่คอยรับคำสั่งมีหน้าที่เพียงนำนโยบายที่กำหนดโดยชนชั้นนำไปสู่

                 ประชาชนเท่านั้น ทิศทางการกำหนดนโยบายจึงมีทิศทางเป็นแนวดิ่ง จากชนชั้นปกครองสู่ประชาชน

                                2) ตัวแบบดุลยภาพระหว่างกลุ่ม (Group equilibrium model) ยึดถือความสมดุลและการ
                 ตัดสินใจระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ซึ่งเกิดจากการประนีประนอมและการเจรจา โดยการเปลี่ยนแปลง

                 อทธิพลของกลุ่มจะมีผลต่อนโยบายสาธารณะ นโยบายจะถูกเปลี่ยนทิศทางไปยังกลุ่มที่มีอทธิพลหรือเสียงที่
                                                                                             ิ
                   ิ
                 มากกว่า ส่วนกลุ่มที่มีอิทธิพลหรือเสียงที่น้อยกว่าก็จะเป็นฝ่ายสูญเสียผลประโยชน์




                                                              67
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85