Page 75 -
P. 75
ิ
ิ
ิ
ิ
ื
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ทรัพย์สินที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจที่สามารถนำมาเป็นหลักประกันได้ ตามมาตรา 8 ของ
พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดประเภทของทรัพย์สินไว้ 6 กลุ่ม ดังนี้
(1) กิจการ ได้แก ทรัพย์สินทั้งหลายที่ผู้ให้หลักประกนใช้ในการประกอบธุรกิจ และ
่
ั
สิทธิต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจนั้น เช่น ที่ดิน อาคาร รถยนต์ รถบรรทุก อุปกรณ์สานักงาน เป็นต้น
(2) สิทธิเรียกร้อง ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ ไม่ว่าจะได้รับชำระหนี้เป็นเงิน
หรือได้รับชาระหนี้เป็นทรัพย์สินอย่างอื่น และสิทธิอื่น ๆ แต่ไม่รวมถึงสิทธิที่มีตราสาร
(3) สังหาริมทรัพย์ที่ผู้ให้หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจ เช่น เครื่องจักร สินค้า
คงคลัง หรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า
(4) อสังหาริมทรัพย์ในกรณีที่ผู้ให้หลักประกันประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
โดยตรง ได้แก่ ที่ดิน อาคารสถานที่ เช่น ผู้ประกอบกิจการหมู่บ้านจัดสรร หรือจัดสรรที่ดินเปล่าสามารถนา
ที่ดินหรืออาคารสถานที่มาเป็นหลักประกันได้
(5) ทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า สิ่งบ่งชี้ทาง
ภูมิศาสตร์ และความลับทางการค้า เป็นต้น
(6) ทรัพย์สินอนตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เป็นกรณีที่กฎหมายเปิดช่องให้หาก
ื่
ื่
ี
ในอนาคต มีทรัพย์สินที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจอน ๆ อกที่กฎหมายยังไม่ได้บัญญัติครอบคลุมเอาไว้ ก็สามารถ
ิ่
กำหนดเพม โดยกฎกระทรวงได้
8) กฎกระทรวงกำหนดให้ทรัพย์สินอนเป็นหลักประกันทางธุรกิจ ตามมาตรา 8
ื่
(กำหนดให้ไม้ยืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ)
ื่
กฎกระทรวงกำหนดให้ทรัพย์สินอนเป็นหลักประกัน พ.ศ. 2561 อาศัยอำนาจตามความใน
มาตรา 4 วรรคหนึ่ง และมาตรา 8 (6) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 กำหนดให้ไม้ยืน
ต้นเป็นทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักประกันได้ โดยมีเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการ
สมควรกำหนดให้ไม้ยืนต้นเป็นทรัพย์สินที่นำมาใช้เป็นหลักประกันได้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันทาง
ธุรกิจ เพอเป็นการส่งเสริมให้มีการให้หลักประกันทางธุรกิจมากยิ่งขึ้น อนจะเป็นประโยชน์แก่การประกอบ
ื่
ั
ธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ และโดยที่มาตรา 8 (6) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558
บัญญัติให้ทรัพย์สินอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวงเป็นหลักประกันได้ จึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
จากข้อมูลข้างต้นปัจจุบันที่ดินในประเทศไทยสามารถจำแนกโดยใช้กฎหมายเป็นฐานได้ 2 ประเภท
ได้แก่ ที่ดินของรัฐ และที่ดินกรรมสิทธิและสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน โดยมีกฎหมายหลักที่
เกี่ยวข้องที่ดิน จำนวน 17 ฉบับและมีหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดินในระดับ
กระทรวง 8 กระทรวง และระดับกรม จำนวน 18 กรม และรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง โดยกฎหมายหลักทเกี่ยวข้อง
ี่
62