Page 74 -
P. 74
ิ
ิ
ิ
ิ
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชุมชน อย่างสมดุลและ
ื้
ยั่งยืน และกำหนดให้ทำแผนจัดการป่าชุมชนที่จำแนกพนที่ออกเป็น 2 บริเวณ ได้แก่ บริเวณเพอการอนุรักษ์
ื่
และบริเวณเพอการใช้ประโยชน์ หรือบริเวณเพอการอนุรักษ์เพยงอย่างเดียว ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิ
ื่
ื่
ี
ประเทศและสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชน
ื่
นอกจากนี้ใน มาตรา 50 ยังได้บัญญัติให้สมาชิกป่าชุมชนมีสิทธิเข้าป่าชุมชนเพอการพักผ่อน
หย่อนใจ และมีสิทธิใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่าชุมชนซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนจัดการป่าชุมชนที่
คณะกรรมการป่าชุมชนประจำจังหวัดอนุมัติ ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) การเก็บหาของป่าในป่าชุมชน (2) การใช้
ื่
ประโยชน์จากไม้ให้ทำได้ในบริเวณเพอการใช้ประโยชน์ โดยต้องไม่ใช้ประโยชน์จากไม้ทรงคุณค่าที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ และให้ทำได้ตามความจำเป็นเพยงเฉพาะเพอใช้สอยในครัวเรือน ของสมาชิกป่าชุมชน หรือใช้ใน
ื่
ี
ื่
กิจกรรมสาธารณะภายในชุมชนนั้น (3) การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอนในป่าชุมชนให้ทำได้ตาม
ความจำเป็นต่อ การอุปโภคบริโภคในครัวเรือนของสมาชิกป่าชุมชน หรือใช้ในกิจกรรมสาธารณะภายในชุมชน
นั้น ซึ่งการใช้ประโยชน์จากผลผลิตและบริการป่าชุมชนต้องเป็นไปอย่างสมดุลและยั่งยืน ไม่ทำลายความ
หลากหลายทางชีวภาพ หรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในป่าชุมชน และให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขตามระเบียบที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด
7) พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
์
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 โดยมีเจตนารมณในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี้ (กรมพฒนาธุรกิจการค้า, 2563)
ั
เนื่องจากข้อจำกัดในทางกฎหมายของระบบการนำทรัพย์สินเป็นหลักประกันในอดีต ได้แก่ การจำนอง และการ
จำนำ ดังนี้
(1) การจำนำ กฎหมายได้ให้นำเฉพาะสังหาริมทรัพย์และต้องมอบทรัพย์สินให้แก่
ผู้รับหลักประกัน และผู้ให้หลักประกันไม่สามารถนำทรัพย์สินดังกล่าวมาสร้างรายได้ เพื่อนำไปชำระหนี้ได้
(2) การจำนอง กฎหมายได้ให้นำเฉพาะอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์บาง
ประเภทเท่านั้น โดยผู้ให้หลักประกันไม่ต้องนำทรัพย์สินดังกล่าวมอบให้แก่ผู้รับหลักประกัน
จากข้อจำกัดดังกล่าว ผู้ให้หลักประกันไม่สามารถนำทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจมา
จ ำ น อ งเป็นหลักประกันได้ ส่งผลให้ปิดกั้นโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนของผู้ให้หลักประกัน
โดยพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 มีสาระสำคัญที่กล่าวถึงสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ
ซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ให้หลักประกันตราทรัพย์สินไว้แก่คู่สัญญาอกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้รับหลักประกัน
ี
เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ โดยไม่จำเป็นต้องส่งมอบทรัพย์สินนั้นแก่ผู้รับหลักประกัน
61