Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว









                                             Urea
                                                     Ornithine          Carbamoyl phosphate
                                                                               2+
                                                      Ornithine carbamoyl    Mg
                                     H O     arginase     transferase
                                      2

                                       Arginine                      Citrullin
                                                                     e    Aspartate
                                           Arginosuccinate lyase
                                      Fumarate                               ATP
                                                   Arginosuccinate synthetase
                                                   Arginosuccinate
                                                                 AMP

                                                  รูปที่ 6-18: วัฏจักรยูเรีย

                                                  ที่มา: Bondi (1987)



                     สำหรับสัตว์ปีกร่างกายจะขับแอมโมเนียที่เกิดขึ้นในรูปของกรดยูริคแทน เนื่องจากกรดยูริคมี

                     คุณสมบัติไม่ละลายน้ำจะสามารถช่วยลดความเป็นพิษต่อตัวอ่อนในขั้นตอนการพัฒนาในไข่

                     ฟัก โดยการนำแอมโมเนียไปสร้างเป็นกลูตามีน จากนั้นกลูตามีนจะทำปฏิกิริยากับกรดอะมิโน

                     ไกลซีนและกรดแอสพาติคได้เป็นกรดอิโนซินิค (inosinic acid) ซึ่งกรดอิโนซินิคจะทำ


                     ปฏิกิริยาในขั้นตอนต่างๆ ได้เป็นกรดยูริค (รูปที่ 6-19) ด้วยเหตุนี้ร่างกายสัตว์ปีกจึงมีความ

                     ต้องการกรดอะมิโนไกลซีนสูงกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและไกลซีนจัดเป็นกรดอะมิโนที่จำเป็น

                     อีกชนิดหนึ่งสำหรับสัตว์ปีก


                                                        From CO       From glycine
                                                              2
                                                     O          H
                                       From aspartate
                                                     C6        7N
                                             H   N1       5C    N
                                                 C2                  8C  O
                                              O           4C                Single
                                                      N3       9N           C unit
                                            Single
                                            C unit    H         H
                                                       From glutamine



                                              รูปที่ 6-19: โครงสร้างของกรดยูริค

                                              ที่มา: Bondi (1987)


                     สารที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ                                                       89
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97