Page 120 -
P. 120
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สามารถช่วยลดการเกิดสารอนุมูลอิสระหรือสารเปอร์ออกไซด์ เช่น เอ็นไซม์กลูตาไธโอน
เปอร์ออกซิเดส (glutathione peroxidase: GSH-Px) ซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมิวเตส
(superoxide dismutase: SOD) และคาตาเลส (catalase: CAT) เป็นต้น (รูปที่ 7-13)
แต่หากสัตว์อยู่ในภาวะที่มีความเครียดจะทำให้เกิดอนุมูลอิสระมากขึ้น จำเป็นต้องเสริมสาร
ต้านอนุมูลอิสระในอาหารเพิ่มขึ้นเช่น ไวตามินอีและแร่ธาตุซิลีเนียมซึ่งจัดเป็นสารต้านการ
ออกซิเดชันตามธรรมชาติ ส่วนสารต้านการออกซิเดชันสังเคราะห์ที่มักใช้เติมในอาหารเพื่อทำ
ให้อาหารสามารถเก็บไว้ได้นานขึ้นได้แก่ ethoxiquin, BHT (butyrated hydroxy toluin)
และ BHA (butyrated hydroxy anisole)
การออกซิเดชันที่เยื่อหุ้มเซลล์ -tocopherol tocopheryl radical
LH L* + O LO *
2
2
LOOH
การออกซิเดชันของไขมันในไซโตพลาสซึม
.OH + OH -
เซลล์เสื่อมสภาพ อนุมูลไฮดรอกซิล
-
2-
*
O O O HO H O
2
2 2
2
2
2 อนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์ อนุมูลเปอร์ออกไซด์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
+ +
Superoxide +2H +2H
+
+2H dismutase Catalase GSH-Px (Se)
GSH-Px
O + H O H O
2
2 2
2
รูปที่ 7-13: การทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระในเซลล์และบริเวณเยื่อหุ้มเซลล์
ลิปิด 117