Page 117 -
P. 117
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
butyric acid) (รูปที่ 7-10) สะสมในร่างกายเกิดเป็นสภาพคีโตซีส ซึ่งมีผลให้สัตว์กินอาหาร
ลดลง ให้น้ำนมลดลง และมีระดับคีโตนบอดีในเลือด ปัสสาวะและน้ำนมสูงกว่าปกติ วิธีการ
แก้ไขโดยการฉีดกลูโคสและหรือร่วมกับการใช้ฮอร์โมน adenocorticotropic hormone
(ACTH) และ adrenal corticoid hormone
CH 3 CH 3
C O H C OH
2-acetyl-CoA H C H NADH H C H -hydroxybutyrate
NAD
+
COO COO -
-
acetoacetate
H
+
CH 3
acetone
CO 2 + C O
CH 3
รูปที่ 7-10: การสร้างคีโตนบอดีจากอะซิล-โคเอ
ที่มา: Bolsover et al. (2004)
2. การสร้างและการสลายไตรกลีเซอร์ไรด์
2.1 การสร้างไตรกลีเซอร์ไรด์ เกิดขึ้นจากการทำปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมันในรูป
ของ fatty- acyl CoA กับ glycerol-3-phosphate ได้เป็น 1-acylglycerol-3-phosphate
และ 1, 2 diacylglycerol-3-phosphate ซึ่งจะถูกเปลี่ยนไปเป็น 1,2 diacylglycerol หรือ
ไดกลีเซอร์ไรด์และไตรกลีเซอร์ไรด์ต่อไป หรืออาจเกิดจากการทำปฏิกิริยาของ fatty acyl-
CoA กับโมโนกลีเซอร์ไรด์ได้เป็นไดกลีเซอร์ไรด์และไตรกลีเซอร์ไรด์ได้เช่นเดียวกัน (รูปที่ 7-
11)
ลิปิด 114