Page 98 -
P. 98

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-42


                 เหมืองแร (นายปณิธาน จินดาภู) ตองออกคําสั่งหามเหมืองถลุงทองคําเปนเวลา 30 วัน มีผลตั้งแตวันที่ 14
                 มกราคม 2558 เพื่อแกปญหาและพิสูจนสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้น สวนบริษัทอัคราไมนิ่งฯ ไดยื่นอุทธรณ

                 คําสั่งดังกลาว (สิตาวีร ธีรวิรุฬห, 2559: 39-42)
                               วันที่ 29 พฤษภาคม 2557 ศาลปกครองพิษณุโลก พิพากษาในคดีหมายเลขดําที่ ส.2/2555
                 คดีหมายเลขแดงที่ ส.2/2557 โดยผูฟองคดีรวม 108 รายซึ่งเปนประชาชนในพื้นที่หมูที่ 3 บานเขาดิน หมูที่
                 7 บานหนองขนาก หมูที่ 8 บานเขาดิน หมูที่ 9 บานเขาหมอ ตําบลเขาเจ็ดลูก อําเภอทับคลอ จังหวัดพิจิตร

                 ยื่นฟองรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม และผูถูกฟองคดีอื่นๆ อีก 13 ราย โดยมีคําพิพากษา ดังนี้
                                      1. ยกฟองคดีกรมปาไม กรมควบคุมมลพิษ และสํานักงานนโยบายและแผน
                 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                      2. เพิกถอนคําสั่งเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ของอธิบดีอุตสาหกรรมพื้นฐานและ

                 การเหมืองแรที่อนุญาตใหบริษัทอัคราไมนิ่งฯ เปลี่ยนแปลงผังโครงการเหมืองแรทองคําชาตรีเหนือ จากเดิมที่
                 ตองสรางบอทิ้งเก็บกากแรแหงที่ 2 ทางทิศตะวันตกเฉียงใตมาสรางทางทิศเหนือของบอทิ้งเก็บกากแรแหงที่
                 1 ซึ่งอยูบนพื้นที่ที่ไดรับอนุญาตใหเปนสถานที่เก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทราย
                                      3. ใหอธิบดีอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ผูอํานวยการสํานักงาน

                 อุตสาหกรรมจังหวัดพิจิตรและผูวาราชการจังหวัดพิจิตร ปฎิบัติตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฎิบัติตามใน
                 การควบคุมดูแลบริษัทอัคราไมนิ่งฯ ไมใหทําการกอสรางและใชงานบอทิ้งเก็บกากแรแหงที่ 2
                                      4. หามอธิบดีอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร และอธิบดีกรมโรงงาน

                 อุตสาหกรรม ออกคําสั่งหรือออกใบอนุญาตการขยายโรงงานประกอบโลหกรรม (สวนขยาย) ใหแกบริษัทอัคราไมนิ่ง
                 ฯ จนกวาจะดําเนินการตามกระบวนการและขั้นตอนในชั้นพิจารณาทางปกครองตามบทบัญญัติของ
                 รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนดไวอยางถูกตองครบถวน
                                      5. ใหอธิบดีอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ผูอํานวยการสํานักงาน
                 อุตสาหกรรมจังหวัดพิจิตรผูวาราชการจังหวัดพิจิตร และอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปฏิบัติหนาที่ตามที่

                 กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติตามในการควบคุมกํากับดูแลไมใหบริษัทอัคราไมนิ่งฯ เดินเครื่องจักรเพื่อ
                 ประกอบกิจการในโรงงานประกอบโลหกรรม (สวนขยาย) และใหอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมเสนอตอ
                 ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมหรือผูที่ปลัดฯ มอบหมาย ผูกมัดประทับตราเครื่องจักรในโรงงานประกอบโลหกรรม

                 (สวนขยาย) ของบริษัทอัคราไมนิ่งฯ จนกวาจะดําเนินการตามกระบวนการและขั้นตอนในชั้นพิจารณาทาง
                 ปกครองและมีคําสั่งอนุญาตตามกฎหมายอยางถูกตองครบถวน
                                      6. ใหอธิบดีอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ผูอํานวยการสํานักงาน
                 อุตสาหกรรมจังหวัดพิจิตรผูวาราชการจังหวัดพิจิตร และอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ดําเนินการใน 30 วัน

                 นับแตคดีถึงที่สุดสวนคําขออื่นๆ ขอใหยก
                                      อยางไรก็ตามเหมืองแรทองคํา อัครา ไมนิ่ง จํากัด ไดยุติการดําเนินงาน ตามคําสั่ง
                 คณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 72/2559 เรื่อง การแกไขปญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแร
                 ทองคํา เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559


                               (4) กรณีการปนเปอนสารแคดเมียมจากการทําเหมืองแร สังกะสี ตากไมนิ่ง และบริษัท
                 ผาแดงอินดัสทรี ตําบลแมตาว อําเภอแมสอด จังหวัดตาก
                               ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ไดมีรายงานผลการศึกษาปนเปอนของสารแคดเมียมในดิน

                 และพืชผลการเกษตรบริเวณหวยแมตาว อําเภอแมสอด จังหวัดตาก ของสถาบันการจัดการทรัพยากรน้ํา
                 นานาชาติ (International  Water  Management  Institute:  IWMI)  รวมกับกรมวิชาการเกษตร
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103