Page 95 -
P. 95

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-39


                 (4) กรณีการปนเปอนสารแคดเมี่ยมจากการทําเหมืองแรสังกะสี ตากไมนิ่งและบริษัทผาแดงอินดัสตรี้
                 ตําบลแมตาว อําเภอแมสอด จังหวัดตาก โดยมีรายละเอียดดังนี้


                               (1) กรณีการปนเปอนของสารตะกั่วในลําหวยคลิตี้ ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด
                 กาญจนบุรี
                               ในป 2541 ผูที่อยูอาศัยบริเวณใกลเคียงลําหวยคลิตี้พบวามีสัตวเลี้ยง เชน วัว ควายลมตาย

                 น้ําในลําน้ํามีกลิ่น จึงไปยื่นเรื่องใหกับทางอําเภอมาแกปญหา และทางอําเภอไดจัดทําน้ําประปามาใหกับ
                 ชุมชนใชแทนน้ําจากลําหวยคลิตี้
                               ตอมาศูนยกระเหรี่ยงและพัฒนารองเรียนตอกรมควบคุมมลพิษใหตรวจสอบการปนเปอน
                 ของตะกั่วในหวยคลิตี้ ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เพราะเกิดเหตุรั่วไหลของน้ําจากบอ
                 เก็บกักตะกอนหางแร (Tailing  Pond) จากกิจกรรมการแตงแรตะกั่วของโรงแตงแรบริษัท ตะกั่วคอนเซนเต

                 รทส (ประเทศไทย) จํากัดลงสูหวยคลิตี้ ทําใหเกิดความวิตกกังวลตอสุขภาพของคนในหมูบาน
                               ในป 2542 หนวยแพทยเคลื่อนที่กรมอนามัยไดไปตรวจเลือดชาวบานคลิตี้ลางพบวาผูอยู
                 อาศัยในหมูบานคลิตี้ลางซึ่งอยูหลังบอเก็บกักตะกอนหางแรมีระดับสารตะกั่วในเลือดสูงในทุกชวงอายุระหวาง

                 23.56-26.31 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ทั้งที่การสํารวจระดับสารตะกั่วในเลือดเฉลี่ยของคนไทยทั่วไปในป 2538-
                 2539 โดยกรมอาชีวะอนามัยอยูที่ 4.29 มิลลิกรัมตอเดซิลิตรเทานั้น
                               สวนรายงานของสํานักงานจัดการคุณภาพน้ํา กรมควบคุมมลพิษซึ่งเริ่มตรวจหาปริมาณสาร
                 ตะกั่วในลําหวยคลิตี้ ในป พ.ศ. 2541 บริเวณใตโรงแตงแรคลิตี้พบการปนเปอนสารตะกั่วในน้ําในรูปของ

                 ตะกั่วทั้งหมด (Total Lead) เกินมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน และพบตะกอนดินทองน้ําปนเปอน
                 สารตะกั่วในระดับสูงมาก สัตวน้ํามีการสะสมสารตะกั่วสูงกวาคามาตรฐานอาหารใหมีสารปนเปอนตาม
                 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2529) ที่กําหนดไวไมเกิน 1.0 มิลลิกรัม/กิโลกรัม โดยพบวา
                 ปลามีปริมาณตะกั่ว  สูงกวาคามาตรฐานอาหารใหมีสารปนเปอน 6-82 เทา ปูมีปริมาณตะกั่วสูงกวาคา

                 มาตรฐานฯ 223-452 เทา หอยมีปริมาณตะกั่วสูงกวาคามาตรฐานฯ 125 เทา และกุงมีปริมาณตะกั่วสูงกวา
                 คามาตรฐาน 130 เทา
                               จากความเสียหายและเกิดผลกระทบตอประชากรผูอยูอาศัยและใชน้ําจากลําหวยคลิตี้ จึงได
                 มีการฟองรองตอศาลปกครองในป 2551 ซึ่งมีคําพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556

                 โดยศาลปกครองสูงสุดพิพากษา ใหกรมควบคุมมลพิษดําเนินการฟนฟูลําหวยคลิตี้ และชดใชคาเสียหายแก
                 ชาวบาน คลิตี้ลาง 22 คน รายละ 177,199.55 บาท
                               นอกจากนี้ไดมีคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกสิ่งแวดลอม เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2560

                 พิพากษาใหบริษัท ตะกั่วคอนเซนเตรทส (ประเทศไทย) จํากัด กับจําเลยรวม 7 ราย จายเงินชดใชคาเสียหาย
                 แกชาวบาน คลิตี้ใตทั้ง 251 คน เปนเงิน 36 ลานบาท พรอมฟนฟูลําหวยคลิตี้ใหกลับมาใชไดดังเดิม
                 (www.bbc.com.)

                               (2) กรณีการปนเปอนของไซยาไนดและแมงกานีส  ในหวยน้ําฮวย ตําบลเขาหลวง

                 อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
                               บริเวณภูทับฟาเริ่มมีการทําเหมืองทองในป พ.ศ.2549 โดยบริษัททุงคํา จํากัด หลังจากนั้นมี
                 การรองเรียนของประชาชน 6 หมูบานในตําบลเขาหลวง อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย และมีผลการตรวจสอบ
                 ยืนยันจากภาครัฐหลายหนวยงาน เชน สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค อุตสาหกรรมจังหวัด สาธารณสุขจังหวัดเลย

                 กองวิเคราะหน้ําบาดาล กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมควบคุม
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100