Page 96 -
P. 96
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-40
มลพิษ และสถาบันการศึกษาหลายแหง เหมืองแรทองคํายังดําเนินกิจการตอไปจนเกิดเหตุการณความขัดแยง
กับชุมชนโดยลําดับเหตุการณที่สําคัญดังนี้
พ.ศ. 2550 หลังเปดทําเหมืองได 1 ป สิ่งแวดลอมภาค 9 อุดรธานี ตรวจสอบพบ แมน้ําฮวย
หวยผุก มีคาไซยาไนด แมงกานีส เกินคามาตรฐาน และในบอเก็บกากแรของบริษัทฯ มีคาไซยาไนดสูงถึง
62 มิลลิกรัมตอลิตร (part per million:ppm) เกินจากคามาตรฐานที่ EIA ระบุไวเพียง 2 ppm.
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรอุดรธานี ภาค 2 เรียกรองใหเหมืองปรับปรุงขอบกพรอง
สวนอุตสาหกรรมจังหวัดเลย มีคําสั่งใหปรับบริษัททุงคําฯ เปนเงิน 2,000 บาท
พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลวังสะพุง สุมตรวจไซยาไนดในเลือดของประชาชน 6 หมูบานรอบ
เหมืองทองคํา 279 คน รพ.รามาธิบดี ซึ่งเปนผูทําการตรวจไดแจงผลเลือด พบมีไซยาไนดในเลือดของ
ประชาชนกลุมตัวอยาง 54 ราย และใน 54 รายนี้ มีไซยาไนดในเลือดเกินคามาตรฐาน 20 คน
มิถุนายน 2553 สาธารณสุขจังหวัดเลยตรวจเลือดของประชาชน 6 หมูบานรอบเหมือง
ทองคําพบไซยาไนด ปรอท ตะกั่ว ในเลือดทั้งเกินและไมเกินคามาตรฐาน ผลกระทบที่เกิดขึ้นนี้ ทําใหกลุมคน
รักษบานเกิด 6 หมูบาน เรียกรองให กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแรปดเหมืองทอง ยกเลิกคําขอ
ประทานบัตรทั้ง 106 แปลง และคัดคานการอนุมัติประทานบัตรเพิ่มเติมของบริษัททุงคํา คือ แปลงที่
104/2538 ซึ่งเปนพื้นที่ภูเขา เรียกวา “ภูเหล็ก” ในวันที่ 23 ตุลาคม 2553
ในวันที่ 8 กุมภาพันธ 2554 มติคณะรัฐมนตรี สั่งใหกระทรวงอุตสาหกรรมชะลอการขอ
ประทานบัตรแปลงที่ 104/2538 (ภูเหล็ก) พื้นที่ประมาณ 291 ไร และแปลงอื่นๆ ของบริษัททุงคํา จํากัด
ที่ตองการจะขยายพื้นที่เพื่อทําเหมืองแรจนกวาจะไดขอสรุปสาเหตุการปนเปอนโลหะหนัก ใหจัดทําผลการ
ประเมินความคุมคาของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคาภาคหลวงแรกับวิถีชีวิตความเปนอยูของชาวบานตาม
แนวเศรษฐกิจพอเพียงและการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน และใหหนวยงานที่เกี่ยวของที่มีหนาที่ตรวจสอบ
สารปนเปอนดําเนินการตรวจสอบสารปรอทดวย เนื่องจากมีการพบวามีปริมาณสารปรอทสูงมากเมื่อเทียบ
กับหมูบานอื่นในสภาพปกติจนกวาจะไดขอสรุปของสาเหตุการเกิดสารปนเปอน
กันยายน 2554 ประกาศจังหวัดเลย ระบุวากรมควบคุมมลพิษตรวจสอบพบวาบอเก็บกาก
แรมีสารหนูและไซยาไนดเกินคามาตรฐาน และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย กับโรงพยาบาลวังสะพุง
เปดเผยผลตรวจเลือดประชาชน 6 หมูบานรอบเหมือง 758 ราย ผลเลือดของประชาชน 124 ราย มีปรอท
และไซยาไนด เกินคามาตรฐาน
หลังจากนั้นไดมีการนําคดีขึ้นสูศาล ทั้งกรณีประชาชนและสวนราชการฟองรอง บริษัททุงคํา จํากัด
รวมทั้งบริษัททุงคําฟองรองประชาชนและสวนราชการ (สิตาวีร ธีรวิรุฬห, 2559: 37-40)
จากความขัดแยงดังกลาว เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 ไดมีคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความ
สงบแหงชาติที่ 72/2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลม 133 ตอนพิเศษ 289 ง ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2559
เรื่องการแกไขปญหาผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแรทองคํา โดยมีรายละเอียดของคําสั่งในขอ 2
และ 3 ดังนี้
“ขอ 2 ใหผูมีอํานาจในการออกอาชญาบัตร ประทานบัตร และใบอนุญาต
ประกอบโลหกรรมตามกฏหมายวาดวยแร ระงับการอนุญาตใหสํารวจและทําเหมืองแรทองคํา รวมถึงการตอ
อายุประทานบัตรเหมืองแรทองคําและการตออายุใบอนุญาตประกอบโลหกรรมแรทองคําไวจนกวาคณะกรรมการ
จะมีมติเปนอยางอื่น