Page 97 -
P. 97
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-41
ขอ 3 ใหผูประกอบการที่ไดรับประทานบัตรและใบอนุญาตตางๆ ตามกฏหมายที่
เกี่ยวของกับการประกอบกิจการเหมืองแรทองคํา ระงับการประกอบกิจการไวตั้งแตวันที่ 3 มกราคม 2560
เปนตนไป จนกวาคณะกรรมการจะมีมติเปนอยางอื่น แตทั้งนี้ ผูประกอบการดังกลาวยังคงมีหนาที่ในการ
ฟนฟูพื้นที่ตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมที่กําหนดไวในรายงานการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอมตามกฏหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติไมวาพื้นที่
ประทานบัตรจะอยูในความรับผิดชอบของหนวยงานใดก็ตาม”
(3) กรณีการปนเปอนจากเหมืองทองคําอัครา ไมนิ่ง จํากัด ตําบลเขาทราย อําเภอ
ทับคลอ จังหวัดพิจิตร
เหมืองทองคําของบริษัท อัครา ไมนิ่ง จํากัด ดําเนินการในแหลงทองคําชาตรีซึ่งมีการ
สํารวจตั้งแต พ.ศ.2538 โดยการขออาชญาบัตรพิเศษคลุมพื้นที่มากกวา 100,000 ไร พบวาเปนแหลงปฐมภูมิ
มีแรทองเกิดรวมกับเงิน แบบอิเลคตรัม ในสายแรควอตซ และคารบอเนตที่เกิดในหินภูเขาไฟ และหินชิ้น
ภูเขาไฟ ปริมาณเฉลี่ยของแรทอง 2.6 กรัม และเงิน 13.3 กรัม ตอหิน 1 ตัน หลังการสํารวจพบแหลงแร
ทองคําซึ่งเปนสายแรควอตซแทรกอยูในหินภูเขาไฟ พบวามีปริมาณสินแรประมาณ 14.5 ลานตัน เมื่อสกัด
ออกมาจนเปนทองคําจะมีปริมาณ 32 ตัน หรือ 32,000 กิโลกรัม คิดเปนมูลคากวา 1 หมื่นลานบาท แหลง
ทองคําชาตรีตั้งอยูในเขต ตําบลเขาเจ็ดลูก อําเภอทับคลอ จังหวัดพิจิตร โดยบริษัทอัคราไมนิ่ง จํากัด ซึ่งเปน
บริษัททําเหมืองแรทองคําใหญและเกาแกที่สุดของไทยไดรับสัมปทานบัตรการทําเหมือง ตั้งแต พ.ศ.2544
ครอบคลุมพื้นที่ 1,200 ไร แผนการทําเหมืองแรทองคําแบงเปน
1. โครงการเหมืองแรทองคําชาตรีหรือโครงการระยะที่ 1 ไดรับความเห็นชอบใน
รายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2542 และตอมาไดรับอนุญาตประทาน
บัตรเพื่อทําเหมืองแรทองคําและเงินเมื่อป 2554 ซึ่งโครงการดังกลาวประกอบดวยประทานบัตร 5 แปลง
พื้นที่ประมาณ 1,259 ไร และใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่เพื่อการเก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทรายนอกเขตเหมืองแร
พื้นที่ประมาณ 1,575 ไร รวมพื้นที่ประทานบัตรและใบอนุญาตทั้งสิ้นประมาณ 2,835 ไร
2. โครงการเหมืองแรทองคําชาตรีเหนือหรือโครงการระยะที่ 2 ไดรับความ
เห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2550 และตอมาไดรับ
อนุญาตประทานบัตรเพื่อทําเหมืองแรทองคําและเงินโดยขอรวมแผนผังโครงการทําเหมืองเปนเหมืองเดียวกัน
กับโครงการเหมืองแรทองคําชาตรี เมื่อวันที่ 21 กรกฏาคม 2551 ซึ่งโครงการดังกลาวประกอบดวยประทาน
บัตร 9 แปลง พื้นที่ประมาณ 2,466 ไร และคําขอใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่เก็บขังน้ําขุนขนหรือมูลดินทราย
นอกเขตเหมืองแร พื้นที่ประมาณ 161 ไร รวมพื้นที่ประทานบัตรและคําขอใบอนุญาตทั้งสิ้นประมาณ 2,628 ไร
วิถีชีวิตของคนในชุมชนแตเดิมคือปลูกพืช เลี้ยงสัตว เพื่อการยังชีพในครัวเรือน
หลังจากมีเหมืองแรทองคําแลวตองซื้อน้ําจากอําเภออื่นมายังชีพ เนื่องจากกลัวมีสารปนเปอนในผลผลิต
คาใชจายรายเดือนตอครัวเรือนสูงขึ้นกวา 10,000 บาท เพราะตองซื้อทั้งน้ําอาบและน้ํากิน สภาพแวดลอมใน
ชุมชนคือมีบอกากแรอยูกลางหมูบาน มีฝุนกระจายตลอดเวลา บานเต็มไปดวยฝุน
ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2557 ประชาชนยื่นหนังสือรองเรียนไปยังสํานักงานนายกรัฐมนตรี
จากนั้นทีมนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยรังสิตลงพื้นที่ตรวจเก็บตัวอยาง ปสสาวะ เลือด น้ําและดิน เพื่อนําไป
ตรวจพิสูจนที่โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยผลการตรวจสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รอบเมืองทอง จํานวน 738 คน
เด็ก 67 คน มีสารหนูในเลือดสูง และผูใหญจํานวน 664 คน มีสารหนู 104 คน สวนผลตรวจจากสถาบันนิติ
วิทยาศาสตรระบุวาประชาชน 200 ราย มี DNA ผิดปกติ ทําใหอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ