Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-46


                 จํากัดและเพื่อลดตนทุนในการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกเกษตรกรจึงเลือกใชไฟในการกําจัดเชื้อเพลิงเหลานี้ ทําให
                 เกิดหมอกควันจํานวนมากตามไปดวย

                               (4) ขอจํากัดดานกําลังเจาหนาที่และงบประมาณในการดูแลพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดไฟปา
                 ดังตัวอยางการปองกันไฟปาในจังหวัดเชียงใหม ใน พ.ศ. 2553 จังหวัดเชียงใหมมีสถานีควบคุมไฟปาทั้งหมด
                 12 สถานี มีพื้นที่รับผิดชอบรวม 3,468,135 ไร คิดเปนเพียงรอยละ 34 ของพื้นที่ปาไมทั้งจังหวัด จึงมีพื้นที่
                 ปาไมอีกจํานวนมากที่ไมสามารถดูแลควบคุมไฟปาได เมื่อพิจารณาจํานวนเจาหนาที่รวมทุกสถานี

                 ประกอบดวย ขาราชการ 13 คน ลูกจางประจํา 21 คน พนักงานราชการ 65 คน และพนักงานจางเหมา 467
                 คน เมื่อนําเฉพาะพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมดมาคํานวณกับกําลังเจาหนาที่ พบวาเจาหนาที่ 1 คนตองดูแลพื้นที่
                 6,127 ไร (ศุทธินี ดนตรี และคณะ, 2554) นอกจากนี้จํานวนพนักงานจางเหมายังมีเปลี่ยนแปลงไมแนนอน
                 ขึ้นกับงบประมาณที่ไดรับในแตละป และไมไดทํางานตอเนื่อง จึงทําใหการควบคุมและปองกันไฟปาไม

                 สามารถทําไดอยางทั่วถึง
                               (5) แนวทางแกไขปญหาแบบทิศทางเดียวจากบนลงลาง การกําหนดมาตรการจาก
                 หนวยงานราชการที่เกี่ยวของยังเปนวิธีการคลายกันทุกป ในรูปแบบของมาตรการเชิงรับ อาทิ การออก
                 ประกาศควบคุมการเผาไหมการรณรงค ระดับกรม หรือจากจังหวัด ใหทองถิ่นนําไปปฏิบัติโดยเฉพาะอยางยิ่ง

                 ในพ.ศ. 2556 มีตัวอยางที่สําคัญของมาตรการออกคําสั่งจากบนลงลาง คือ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 21 มกราคม
                 2556 กําหนดมาตรการที่ใชในการปองกันไฟปาและหมอกควันในป 2556 โดยเปลี่ยนจาก “ควบคุมการเผา”
                 เปน “ไมมีการเผา” ใชระบบ Single Command โดยมีคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําและอุทกภัยแหงชาติ

                 (กทอ.) เปนผูรับผิดชอบและใชระบบ Area Approach โดยมีผูวาราชการจังหวัดเปนผูรับผิดชอบในสวนหนา
                 (Forward Command) ครอบคลุม 9 จังหวัด ภาคเหนือ ใชระยะเวลา 100 วัน (21 มกราคม - 30 เมษายน
                 2556) มาตรการเชนนี้ใหประสิทธิผลนอยมาก เพราะขาดการนําขอมูลพื้นฐานดานสาเหตุ เวลา และ
                 แหลงกําเนิดหมอกควันมาพิจารณา เปนการสั่งการแบบกะทันหัน ไมมีการเตรียมการลวงหนาทั้งกําลังคน
                 งบประมาณ การสื่อสารสรางความเขาใจในวิธีการปฏิบัติงานที่ชัดเจนกับเจาหนาที่ คนในทองถิ่น และ

                 บุคคลภายนอก นอกจากนี้ยังขาดการเสนอทางเลือกหรือทางออกใหกับคนในทองถิ่นที่มีสภาพกายภาพ
                 เศรษฐกิจ และสังคมที่แตกตางกัน โดยใหผูที่เกี่ยวของทั้งมีสวนรวมในการตัดสินใจ เพราะยังมีคนจํานวนไม
                 นอยที่จําเปนตองใชไฟในการดํารงชีพ

                               สําหรับการลดผลกระทบจากหมอกควันขามแดนจากประเทศเพื่อนบาน เปนเพียงแนวทาง
                 ที่ยังไมสามารถปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม เพราะยังขาดความชัดเจนในวิธีปฏิบัติ ยังมีลักษณะตางคนตางทํา
                 โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับประเทศเพื่อนบาน เปนเพียงแนวทางที่ยังไมสามารถปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม
                 เพราะยังขาดความชัดเจนในวิธีปฏิบัติ ยังมีลักษณะตางคนตางทํา โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับประเทศเพื่อน

                 บานตางแยกกันไปเจรจาและทําไดเพียงของความรวมมือเทานั้น ควรนําความตกลงอาเซียนวาดวยมลพิษจาก
                 หมอกควันขามแดน (ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution) ใน พ.ศ. 2545 มาเปน
                 แนวทางกรอบในการทํางานอยางตอเนื่องเพื่อแกไขปญหารวมกัน

                        2. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอแนวทางการแกไขปญหาการเผาไหมและหมอกควัน

                        ขอเสนอแนะสําหรับการแกไขปญหาหมอกควันที่เกิดจากการเผาไหมในเขตปาไมและพื้นที่
                 เกษตรกรรมบนพื้นที่สูง ที่เปนสาเหตุหลักของการเกิดหมอกควัน ควรมีแนวทาง 9 ประการดังตอไปนี้
                               1) การแกไขปญหาควรเปนแบบองครวมและกระจายอํานาจ โดยมีการบูรณาการความ

                 รวมมือจากทุกฝายควรเปลี่ยนวิธีการแกไขปญหาในแบบการสั่งการจากสวนกลางในแนวดิ่ง มาเปนการ
                 ทํางานประสานกันในแนวราบมากขึ้น โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและชุมชนในทองถิ่นมีบทบาทสําคัญ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107