Page 104 -
P. 104

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-48


                               6) การควบคุมไมใหมีการขยายตัวของการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่สูง และใหบังคับใชกฏหมาย
                 อยางเขมงวดเมื่อมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกเขาไปในเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ และเขตรักษา

                 พันธุสัตวปา โดยเฉพาะการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ไดรับการสงเสริมจากบริษัทธุรกิจการเกษตรขนาดใหญและ
                 ควรสรางทางเลือกดานการเกษตรที่ยั่งยืน ใชพื้นที่จํากัด แตสามารถมีรายไดเพียงพอ
                               7) วัตถุประสงคหลักของการแกไขปญหาหมอกควันจากสวนกลาง ยังอยูบนพื้นฐานของการ
                 สงเสริมการทองเที่ยวซึ่งเปนรายไดหลักของจังหวัดในภาคเหนือ และการปองกันสุขภาพของประชาชน แต

                 รายไดที่ไดรับไมไดกระจายไปใหคนในทองถิ่น โดยเฉพาะเกษตรกรในเขตชนบทตามพื้นที่สูง และในเขตปาไม
                 ซึ่งมีการบุกรุกเขาไปทําการเกษตรหรือการหาผลประโยชนจากปา และมีความจําเปนตองใชไฟเพื่อการดํารงชีพ
                 การหามไมใหมีการเผาไหมแลวไมมีการเสนอทางเลือกใดๆ ดานเศรษฐกิจที่เหมาะสมแกเกษตรกรเพื่อ
                 ทดแทนรายไดที่หายไปจึงไมสามารถแกไขปญหาพื้นฐานดานรายไดของเกษตรกร ผูที่ไดประโยชนจากแกไข

                 ปญหาหมอกควัน โดยเฉพาะภาคธุรกิจทองเที่ยว และชุมชนเมือง ควรมีบทบาทในการชดเชยการสูญเสีย
                 โอกาสในทางเศรษฐกิจใหแกเกษตรกรที่ไมเผาเศษพืชในไร หรือไมเผาปาเพื่อหาของปา ในรูปของเงิน
                 สนับสนุนการปรับเปลี่ยนอาชีพ และการสรางทางเลือกในการทําการเกษตร ที่ใหรายไดใกลเคียงกับอาชีพเดิม
                 โดยควรนํารายไดสวนหนึ่งจากธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวมาเปนสวนชดเชยใหกับทั้งเกษตรกรและ

                 หนวยงานที่รับผิดชอบดูแลควบคุมไฟปา
                               8) ความจําเปนในการแพร แลกเปลี่ยนองคความรู และขอมูลเชิงประจักษดานนิเวศวิทยา
                 ของปาไม ทั้งปาผลัดใบและปาไมผลัดใบ นิเวศวิทยาไฟปา สภาพสังคมเศรษฐกิจพื้นฐานของชุมชนทองถิ่น

                 และผลกระทบของการเกิดหมอกควัน ไปสูสังคมทุกภาคสวนเพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองตอทุกบริบทที่
                 เกี่ยวของกับการเกิดหมอกควัน โดยเปดโอกาสใหทุกฝายมีสวนรวมเสนอทางเลือกที่เปนจุดสมดุลของการ
                 แกไขปญหาหมอกควันบนพื้นฐานของความยุติธรรม เทาเทียมกัน และยังสามารถดํารงชีวิตของตนได
                 ตามปกติสุข
                               9) การแกไขปญหาหมอกควันขามแดนควรมีมาตรการที่ชัดเจนในระดับประเทศในฐานะ

                 สมาชิกของกลุมประเทศอาเซียน เพื่อใหจังหวัดชายแดนที่ประสบปญหาหมอกควันขามแดนสามารถนําไปใช
                 ดําเนินการเลือกแนวทางการแกไขปญหาไปในทิศทางเดียวกัน มีความตอเนื่องและยั่งยืน (ศุทธินี ดนตรี และ
                 คณะ, 2557: 281-282; นิอร สิริเลิศมงคลกุล และศราวุธ พงษลี้รัตน, 2556: 93-96; Kongrut, 2019: 9-10)


                 3.8 การวิเคราะหสถานการณพื้นที่สูงโดยระบบ DPSIR
                        จากการทบทวนปญหาของพื้นที่สูง 4 ประการ คือ (1) ปญหาการชะลางพังทลายของดิน (2) ปญหา

                 ดินถลม (3) ปญหาสิ่งแวดลอม และ (4) ปญหาชาวเขา นั้น ไดนําประเด็นสําคัญของแตละปญหามาวิเคราะห
                 สถานการณพื้นที่สูงโดยระบบ DPSIR ไดดังนี้
                        3.8.1 ปจจัยขับเคลื่อน (Driver : D)
                        เปนสาเหตุของปญหารวม 5 ประการ คือ  (1) ประชากรเพิ่ม (2) นโยบายของรัฐ (3) ทําการเกษตร

                 เพื่อการคา (4) การคมนาคมสะดวกขึ้น (5) ขาดแผนการใชที่ดินของชาติ

                        3.8.2 ความกดดัน (Pressure : P)
                        เปนผลจากปญหาที่รัฐจะตองดําเนินการแกไขรวม 5 ประการ คือ (1) การหยุดยั้งการบุกรุกทําลายพื้นที่สูง

                 (2) การลดประชากรบนพื้นที่สูง (3) ความมั่นคงของชาติ (4) สิทธิมนุษยชน (5) การยกเลิกการใชสารเคมีบางชนิด
                 (6) แกไขปญหาการชะลางพังทลายของดิน และ(7) แกไขปญหาดินถลม
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109