Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-44


                        ตอมาในป พ.ศ.2562 กรมปองกันและบรรเทาสาธาณภัยไดรายงานเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2562
                 เวลา 05.00 น พบวา มีจังหวัดที่มีปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง

                 ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กไมเกิน 10 ไมครอน (PM  10)  เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินคามาตรฐาน 50 ไมโครกรัมตอ
                 ลูกบาศกเมตร และดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) เกินคามาตรฐาน 100 รวม 7 จังหวัด ไดแก
                               1. จังหวัดเชียงราย ในพื้นที่ ต.เวียง อ.เมืองเชียงราย, ต.เวียงพางคํา อ.แมสาย
                               2. จังหวัดเชียงใหม ในพื้นที่ ต.ชางเผือก, ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม

                               3. จังหวัดลําปาง ในพื้นที่ ต.พระบาท อ.เมืองลําปาง, ต.บานดง, ต.แมเมาะ อ.แมเมาะ
                               4. จังหวัดแมฮองสอน ในพื้นที่ ต.จองคํา อ.เมืองแมฮองสอน
                               5. จังหวัดนาน ในพื้นที่ ต.ในเวียง อ.เมืองนาน, ต.หวยโกน อ.เฉลิมพระเกียรติ
                               6. จังหวัดแพร ในพื้นที่ ต.นาจักร อ.เมืองแพร

                               7. จังหวัดพะเยา ในพื้นที่ ต.เวียง อ.เมืองพะเยา
                               (กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2562: 7)

                        วันที่ 2 พฤษภาคม 2562 ภายหลังจากที่สิ้นสุดการบังคับใชกฏหมายหามเผาในจังหวัดเชียงใหมและ

                 9 จังหวัดภาคเหนือไปเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ที่ผานมาคุณภาพอากาศหรือฝุนจิ๋วในจังหวัดเชียงใหม
                 กลับมาวิกฤติอีกครั้งอยูในระดับ “มีผลกระทบตอสุขภาพ” โดยจุดตรวจวัดคาฝุนละอองขนาดเล็ก หรือ
                 PM2.5 วัดคาสูงสุด ณ เวลา 11.00 น. อยูที่จุด โรงพยาบาลแมแตง วัดคา PM2.5  ไดสูงถึง 513.29 สวนคา AQI
                 อยูที่ 588 (www.cmuccdc.org)

                        สวนการตรวจวัดคาฝุนละอองในจังหวัดเชียงใหมของกรมควบคุมมลพิษ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม
                 2562  ณ เวลา 09.00 น. พบวา คุณภาพอากาศมีคาอยูในเกณฑปานกลาง-เริ่มมีผลกระทบตอสุขภาพ
                 คา AQI เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาระหวาง 63-129 มคก./ลบ.ม คา PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาระหวาง 41-62
                 มลก./ลบ.ม.  และคา PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาระหวาง 63-86 มคก./ลบ.ม.

                        ผลจากปญหาหมอกควัน นอกจากสงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรงแลว
                 ยังมีผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจของพื้นที่ภาคเหนือตอนบนอีกหลายประการ ถึงแมวารัฐบาลจะไดมี
                 นโยบายการแกไขมาอยางตอเนื่องก็ตาม แตยังคงมีปญหาเกิดขึ้น เพราะปญหาหมอกควันมีขอบเขตที่
                 กวางขวางเกิดจากหลายสาเหตุ

                        จากรายงานการวิจัยเรื่อง การจําแนกเชิงพื้นที่ของพื้นที่เผาไหมเพื่อการเฝาระวังและการปองกันการ
                 เผาในที่โลง : กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม ลําพูน และแมฮองสอน ของศุทธินี ดนตรี และคณะ (2557: 275-
                 278) และนิอร สิริเลิศมงคลกุล และศราวุธ พงษลี้รัตน (2556: 93-96) ที่ศึกษาในพื้นที่จังหวัดเชียงรายจะ

                 สรุปถึงโครงสรางของปญหาหมอกควันและขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอแนวทางการแกไขปญหาการเผาไหม
                 และหมอกควันเปนไปในแนวทางเดียวกันสรุปได โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

                        1. โครงสรางของปญหาหมอกควัน
                        การเกิดหมอกควันในพื้นที่ศึกษาทั้งสามจังหวัดเกิดจากปจจัยสภาพแวดลอมทางกายภาพ สภาพทาง

                 เศรษฐกิจและสังคม และนโยบายและมาตรการของหนวยงานราชการ รวม 5 ประการ ดังนี้
                               (1) ขอจํากัดทางดานกายภาพ พื้นที่ศึกษามีลักษณะทางกายภาพที่เอื้อตอการเกิดหมอกควัน
                 5 ประการ คือ ประการแรก การมีลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาสลับกับแองที่ราบ โดยเทือกเขาวางตัวใน
                 แนวเหนือ-ใต ทําใหการระบายลมทําไดยากมากกวาในเขตที่ราบภาคกลางหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้ง

                 ที่มีการเผาไหมในพื้นที่ปาไมและพื้นที่การเกษตรเชนเดียวกัน ประการที่สอง ทิศดานลาดมีผลทําใหอัตราการ
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105