Page 101 -
P. 101

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-45


                 รวงของใบไมในแตละทิศทางชา-เร็ว แตกตางกัน ทําใหมีไฟปาเกิดขึ้นในเวลาที่แตกตางกัน โดยพื้นที่ปาผลัด
                 ใบซึ่งมีความลาดเทไปทางทิศตะวันออกทิศตะวันออกเฉียงใต และทิศใตจะไดรับแสงแดดมากกวาทิศอื่นจึง

                 เกิดความแหงแลงกอน และมักพบไฟปาเกิดขึ้นกอนเชนกัน ประการที่สาม ในชวงฤดูหนาวเมื่อมีความกด
                 อากาศสูงที่พัดมาจากประเทศจีน ทําใหมีอากาศหนาวเย็นหากมีการเผาไหมเกิดขึ้นในชวงนั้น ฝุนละอองตางๆ
                 จะถูกกักอยูใกลระดับพื้นดินตามแองที่ราบตางๆ เนื่องสภาวะอุณหภูมิผกผันหรืออุณหภูมิหกกลับ (inversion
                 temperature)  หากมีอากาศหนาวเย็นตอเนื่องกันหลายวันและไมมีการควบคุมการเผาไหม พบวามีคาฝุน

                 ละอองขนาดเล็ก (PM )ที่เกินคามาตรฐานหลายวัน ประการที่สี่ ความเร็วลมในชวงเวลานี้มักเปนลมออน จึง
                                   10
                 ไมสามารถพัดใหฝุนละอองกระจายไปไดอยางรวดเร็ว และกระแสลมยังมีทิศทางการพัดสวนใหญจากทิศใตไป
                 ทางทิศเหนือ จากทิศตะวันตกเฉียงใตไปทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ หรือจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก
                 ทําใหเกิดภาวะหมอกควันขามแดนทั้งจากประเทศเพื่อนบานที่อยูทางทิศตะวันตกของภาคเหนือตอนบน และ

                 จากจังหวัดขางเคียงดวยกัน    และประการสุดทายในชวงวิกฤติหมอกควัน มักมีปริมาณฝนนอยมากหรือไมมี
                 เลย ในปที่มีความแหงแลงจากภาวะเอลนิโญ เชน พ.ศ. 2550, 2553 และ 2555 พบความแหงแลงเกิดขึ้นเร็ว
                 กวาปกติ จึงเกิดเชื้อเพลิงแหงจํานวนมากในเขตปาไมและพื้นที่เกษตรกรรม กลายเปนปจจัยเสี่ยงที่ทําให
                 ภาวะไฟปาเกิดเร็วขึ้นและในบางปกินเวลายาวนานกวาปอื่นๆ

                               (2) การเผาไหมเชื้อเพลิงชีวมวล เนื่องจากการใชประโยชนที่ดินสวนใหญเปนพื้นที่ปาไม
                 โดยเฉพาะปาผลัดใบ จึงมีจํานวนเชื้อเพลิงชีวมวลจํานวนมาก ทั้งใบไมแหง กิ่งไม หญาแหง เศษพืชตางๆ และ
                 ยังมีเชื้อเพลิงชีวมวลจากพื้นที่เกษตรกรรมทั้งเกษตรกรรมทั่วไปในเขตที่ราบ เกษตรกรรมในที่สูงที่อยูเขตปา

                 สงวนแหงชาติและปาอนุรักษ และเกษตรกรรมในเขตปาดิบเขาที่เปนไรหมุนเวียน ในพื้นที่ลอนลาดและพื้นที่
                 สูงสวนใหญปลูกพืชอายุสั้นที่เปนพืชไรหรือขาวไรแบบไรหมุนเวียน เมื่อทําการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกหรือ
                 ขยายพื้นที่เพาะปลูก หากเปนที่ลาดชันมาก แรงงานมีจํากัด หรือไมมีเงินทุนมาก เกษตรกรจําเปนตองใชไฟ
                 ในการจัดเศษวัสดุการเกษตรหรือเศษพืชหากไมควบคุมการเผาไหม ไฟจะลุกลามออกไปนอกพื้นที่เพาะปลูก
                 เขาเขตปาไมจนกลายเปนไฟปา นอกจากนี้ปญหาหมอกควันยังเกิดจากการเผาใบไมที่รวงในปาผลัดใบ

                 เพื่อเรงใหผักหวานแตกใบเร็วสามารถขายไดราคาสูงในชวงตนฤดู หรือเพื่อความสะดวกในการเก็บหาเห็ดที่มี
                 ราคาแพงหรือลาสัตว สําหรับในพื้นที่ชุมชนเมืองยังพบการเผาไหมเชนกันโดยเกิดจากการคมนาคมขนสง
                 (ยานพาหนะภายในในพื้นที่ และจากนอกพื้นที่ในภาคการขนสงและการทองเที่ยว) การเผาเศษใบไมกิ่งไม

                 ตามบานเรือน และการเผาขยะ
                               (3) แรงกดดันทางเศรษฐกิจและประชากร เกษตรกรในภาคเหนือตอนบนมีปญหาที่ดินทํา
                 กินไมเพียงพออันเนื่องมาจากขอจํากัดดานสภาพภูมิประเทศ ทําใหมีพื้นที่ราบอยูนอย ประกอบกับมีจํานวน
                 ประชากรบนพื้นที่สูงมีจํานวนมากขึ้น ทั้งในกลุมคนไทยพื้นเมืองและกลุมชาติพันธุเมื่อเปรียบเทียบกับอัตรา

                 การเพิ่มของประชากรในพื้นที่ราบ ดวยความตองการที่ดินทํากินที่เพิ่มตามแรงกดดันดานประชากร จึงทําใหมี
                 การขยายพื้นที่เพาะปลูกมากขึ้น เขาไปบนพื้นที่สูงที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ และเขต
                 รักษาพันธุสัตวปา โดยที่หนวยงานที่เกี่ยวของไมสามารถบังคับใชกฏหมายเพื่อควบคุมการบุกรุกพื้นทีไดมากนัก
                 เมื่อมีแรงจูงใจทางเศรษฐกิจจากการสงเสริมใหมีการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ตลาดตองการมากขึ้น ผานเครือขาย

                 ของพอคาในทองถิ่นพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่สูงซึ่งไมมีแหลงน้ําเพียงพอ ตองพึ่งพาน้ําฝนเปนหลัก คือ พืชไร
                 และพืชผักเมืองหนาวอายุสั้น เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว มะเขือเทศ กะหล่ําปลี ไมดอกไมประดับฯลฯ และระยะ
                 หลังมีการนํายางพาราและมันสําปะหลังเขามาปลูกมากขึ้น การขยายพื้นที่เพาะปลูกโดยการเปดพื้นที่
                 เพาะปลูกใหมในเขตปาไม ยอมมีปริมาณพืชหรือชีวมวลจํานวนมากกวาในพื้นที่เพาะปลูกปกติ เมื่อแรงงานมี
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106