Page 93 -
P. 93

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-37


                  ตารางที่ 3-15  ปญหาชาวเขาจากการทบทวนวรรณกรรมระหวาง พ.ศ. 2504-2561 (ตอ)

                  ลําดับ                     ปญหาชาวเขา                                      ที่มา
                    ที่
                         6.ปญหาอื่นๆ
                             6.1 ดานประชากร
                             6.2 ดานที่ดินทํากิน
                                 (1) ใชที่ดินผิดประเภทการขาดบํารุงรักษาดินเสื่อมโทรม
                                 (2) ขยายการทําลายปาไมตนน้ําลําธารไดอยางรวดเร็ว
                    5    1. ปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมบนพื้นที่สูงหรือปญหาการ  กรมประชาสงเคราะห (2534 : 5-6)
                         ทําลายปาตนน้ําลําธาร
                         2. ปญหาการปลูกฝน
                         3. ปญหาดานความมั่นคงแหงชาติ
                         4. ปญหามาตรฐานการครองชีพของชาวเขาต่ํากวาของประชากรกลุมอื่นในประเทศ
                    6    1. การที่ชนเผาไมไดรับสัญชาติไทย                    มูลนิธิโครงการหลวง (2555 : 1)
                         2. การขาดพื้นที่ทํากิน
                         3. การเขาไมถึงบริการสาธารณะ
                    7    1. ปญหาความยากจน                                     สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน)
                         2. ความเหลื่อมล้ํา                                    (2560: 18-21)
                         3. การเพิ่มขึ้นของขาวโพดเลี้ยงสัตวและการบุกรุกพื้นที่ปา
                         4. ความมั่นคงตามแนวชายแดนและการลักลอบปลูกฝน
                         5. การขาดแคลนน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภคมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
                         6. ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม



                 3.6 ปญหาการประกอบอาชีพของประชากรบนพื้นที่สูง
                        ปญหาประชากรบนพื้นที่สูงในการประกอบอาชีพมี 2 ประการ คือ
                               3.6.1 ขาดความมั่นคงในการถือครองที่ดิน เนื่องจากที่ดินที่ประชากรบนพื้นที่สูงอยูอาศัย

                 และทํากินเปนที่ดินของรัฐ ทั้งเปนอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปาและเขตปาสงวนแหงชาติที่เปนเขต
                 อนุรักษ ซึ่งจัดเปนผูที่ไรกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงขาดการพัฒนาหรือปรับปรุงบํารุงดินเพราะไมมีความมั่นใจวาจะ
                 ถูกภาครัฐใหอพยพออกจากพื้นที่เชนเคยเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ เชน อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร
                 ที่อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง เปนตน
                               3.6.2 ขาดโครงสรางพื้นฐาน ทั้งแหลงน้ําเพื่อการเกษตร เสนทางคมนาคม ตลาด ทําให

                 สามารถปลูกพืชไดเพียงหนึ่งครั้งในรอบปเฉพาะในชวงฤดูฝน ขาดแคลนแมแตน้ําอุปโภค-บริโภค ในฤดูแลง
                 การไมมีตลาดในพื้นที่ทําใหการจัดหาปจจัยการผลิตและการจําหนายผลผลิตเปนไปดวยความยากลําบาก
                 เพราะขาดเสนทางคมนาคมโดยเฉพาะในฤดูฝน


                               จากปญหาทั้ง 2 ประการนี้ กมล งามสมสุข (2561) ไดรายงานสถานภาพของประชากรบน
                 พื้นที่สูงไวรวม 5 ขอ ดังนี้
                                      (1)  ประชากรบนพื้นที่สูงสวนใหญยังมีฐานะยากจน เนื่องจากการกระจายการ

                 พัฒนายังไมทั่วถึงสาเหตุจากพื้นที่หางไกลและทุรกันดารประกอบกับขาดความรูในการผลิตพืชที่ถูกตองและ
                 เหมาะสมตอบริบทของแตละพื้นที่ โดยเฉลี่ยครัวเรือนประชากรในพื้นที่ศูนยปฏิบัติการโครงการขยายผล
                 โครงการหลวงเพื่อแกปญหาพื้นที่ปลูกฝนอยางยั่งยืนมีรายไดเฉลี่ย 105,421 บาท/คร. ซึ่งลดลงจากผลการ
                 ประเมิน เมื่อป 2556 (132,977 บาท/ครัวเรือน) เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทําใหราคาผลผลิตเกษตรต่ํา
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98