Page 117 -
P. 117

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-6





                                     (2) เรงยกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของชนกลุมนอยและคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู
               แถบบริเวณที่สูงของภาค พรอมกับมีการควบคุมการใชที่ดินในการพัฒนาเกษตรที่สูงและกําหนดเขตชุมชนใหผู
               อาศัยอยูบริเวณที่สูงเพื่อปองกันการทําลายปาและตนน้ําลําธารอีกดวย”

                              ในสวนที่ 3 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเฉพาะเรื่อง บทที่ 1 หนา 163 ไดกําหนด
               มาตรการอนุรักษทรัพยากรและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ดังนี้
                                     “(3) การดําเนินการหมูบานปาไม จะตองดําเนินการในพื้นที่ปาตนน้ําลําธารที่มี
               สภาพเสื่อมโทรมจากปญหาการบุกรุกมากที่สุด
                                     (4) ใหความสําคัญแกโครงการปลูกปาเพื่ออนุรักษบริเวณตนน้ําลําธารเปนอันดับแรก

               และเรงดวน”

                              ในสวนที่ 3 บทที่ 2 การกระจายและการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในชนบท หนา 198
               ไดกําหนดไวดังนี้

                                     “3.3.2 การกระจายการผลิตจากพืชหลักไปสูพืชผลเกษตรอื่นๆ
                                     การกระจายการผลิตจากพืชหลัก 6 ชนิดไปสูพืชผลอื่นๆ จะตองพิจารณาให
               สอดคลองกับทรัพยากรธรรมชาติในแตละภาคที่มีอยูดังนี้
                                     ภาคเหนือ พื้นที่ตอนบนของภาคเปนที่สูง มีทรัพยากรปาไมที่อุดมสมบูรณและเปน

               แหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญ แตในระยะที่ผานมานี้ การบุกรุกทําลายปาไมในลักษณะทําไรเลื่อนลอยมีเปน
               จํานวนมาก ดังนั้น การกระจายการผลิตในภาคนี้จึงตองเนนหนักไปในดานการสงเสริมพืชผักและไมผลเมือง
               หนาวที่เหมาะสมกับพื้นที่สูง สําหรับภาคเหนือตอนลาง สวนใหญเปนเขตเพาะปลูกพืชไรอยูแลว ลูทางการ
               กระจายการผลิตก็ยังมีอีกมาก พืชที่ควรเรงรัดไดแกฝาย ยาสูบ ถั่วเหลือง และถั่วตางๆ”


                              ในสวนที่สาม บทที่ 7 การกระจายบริการสังคม หนา 298 ไดกําหนดการสังคมสงเคราะห ไว
               ดังนี้
                                     “(5) ปญหาเรื่องชาวเขา ในปจจุบันมีชาวเขาอาศัยประกอบอาชีพอยูบนภูเขาสูงของ

               ประเทศไทย มีจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 500,000 คน ประกอบดวยชาวเขาเผาแมว เยา ลีซอ มูเซอ อีกอ
               กระเหรี่ยง ฮอ กระจายกันอยูตามจังหวัดภาคเหนือ ซึ่งนับวันจะเพิ่มจํานวนมากขึ้นทุกที ชาวเขามีอาชีพทาง
               เพาะปลูก ปลูกฝน ทําไรเลื่อนลอย ลาสัตว โดยปกติชาวเขามีนิสัยเปนผูขยันขันแข็ง แตก็ยังไมสามารถทําไดพอกิน
               เนื่องจากทําการเกษตรในที่สูงซึ่งไดผลตอบแทนต่ําเพราะเปนการเกษตรกรรมแบบลาหลัง ทําใหดินเสื่อม

               คุณภาพโดยรวดเร็ว จึงตองโยกยายที่ทําการเกษตรและทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนปญหา
               ทางสังคม ไดแก การศึกษาซึ่งชาวเขาสวนใหญยังไมสามารถพูดและเขาใจภาษาไทยไดและยังไมเห็นความ
               จําเปนในการศึกษาภาษาไทย นอกจากนั้นก็มีปญหาดานสุขภาพอนามัย เนื่องจากชาวเขาอยูกันกระจัด
               กระจาย ทําใหบริการทางดานนี้เปนไปดวยความยากลําบาก

                                     แนวทางและมาตรการในการแกไขปญหาชาวเขา กําหนดใหมีการรวมมือกันจัดทํา
               โครงการสําหรับชาวเขาระหวางหนวยราชการที่เกี่ยวของในรูปโครงการสมบูรณแบบแยกเขตพื้นที่ คือ มีทั้ง
               การพัฒนาอาชีพเพื่อลดการปลูกฝน สงเสริมการเกษตรแผนใหม การอุตสาหกรรมในครอบครัว การพัฒนาดาน

               การศึกษา อนามัยควบคูกันไป สําหรับการสงเสริมการเกษตรแผนใหมในที่สุดใหกับชาวเขานั้นจะไดสง
               เจาหนาที่ออกไปสาธิตในทองที่ และนําชาวเขาเขามารับการอบรมที่ศูนยเกษตรภาคเหนือ และสงเสริมใหมีการ
               เลี้ยงปศุสัตว ตลอดทั้งจัดหาตลาดพืชผลใหกับชาวเขา และสนับสนุนงานสหกรณขึ้นในกลุมชาวเขา เพื่อใหมี
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122