Page 113 -
P. 113

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-2





                              แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 ระยะที่สอง (พ.ศ.2507-2509)
                              บทที่ 10 การพัฒนาชุมชนและสาธารณูปการ ไดกําหนดโครงการพัฒนาชุมชนและการ
               สาธารณูปโภค มีสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชาวเขาไวดังนี้
                                     --------------------------------------

                                     ข. นิคมสรางตนเองสงเคราะหชาวเขา ชาวเขาสวนมากยังขาดความสํานึกที่วาตน
               เปนคนไทย การประกอบเกษตรกรรมของชาวเขาเหลานี้เปนไปในรูปไรเลื่อนลอยเปนสวนมากซึ่งนับวาเปน
               อันตราย กระทบกระเทือนทรัพยากรของประเทศ จึงจําเปนตองจัดการใหชาวเขาเหลานี้ไดมีที่ทํากินเปนหลัก
               แหลง รูจักวิธีการเพาะปลูกที่ถูกตอง และมีความสํานึกในความเปนคนไทยอยางแนนแฟน สิ่งที่จะปฏิบัติตาม

               โครงการนี้ในระยะ 3 ปขางหนา ไดแกการจัดสรรพื้นที่ในบริเวณนิคมดอยมูเซอร จังหวัดตาก ดอยเชียงดาว
               จังหวัดเชียงใหม จังหวัดเชียงราย และจังหวัดเลย ในการปลูกชากาแฟและพืชเมืองหนาว ตลอดจนเพื่อรับ
               สมาชิกใหมรวมทั้งสิ้นราว 1,000 ครอบครัว สงเสริมอาชีพโดยแจกจายพันธุพืชและจัดหาพันธุ สัตวใหชาวเขา
               เลี้ยงตลอดจัดหาบริการที่จําเปน เชน โรงเรียนและสุขศาลา

                                     (2) โครงการศูนยพัฒนาสงเคราะหชาวเขา ทางราชการไดเล็งเห็นความสําคัญทาง
               เศรษฐกิจและสังคมของชาวเขาโดยทั่วไปดังกลาวแลว แตเนื่องจากจะจัดสรางนิคมใหชาวเขาทั้งหมดไมได
               เพราะจะตองใชเงินและเจาหนาที่ตลอดจนอุปกรณอื่นๆ เปนจํานวนมากเกินกําลังที่จะหามาได จึงจะจัดตั้ง
               ศูนยชาวเขาขึ้นโดยจะจัดขึ้นเปนการทดลองในนิคมสรางตนเองสงเคราะหชาวเขาดอยมูเซอร จังหวัดตาก

               เปนแหงแรกในป 2517 และจะเพิ่มขึ้นอีก 3 แหงที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงราย และจังหวัดเลย ในป 2509 นั้น
               ก็จะจัดตั้งเพิ่มขึ้นอีกในจังหวัดที่มีชาวเขาอยูมากและยังไมมีนิคม เชนจังหวัดแมฮองสอน
                                     นอกจากการจัดตั้งศูนยพัฒนาดังกลาวแลว กรมประชาสงเคราะหจะตั้งศูนยวิจัย
               ชาวเขาและจะจัดใหมีหนวยพัฒนาสงเคราะหชาวเขาเคลื่อนที่ออกไปปฏิบัติงานตามหมูบานชาวเขาใหครบ

               150 ทุกแหง โดยจะจัดตั้งขึ้น 4 หนวยในจังหวัดตามและใกลเคียง ใน พ.ศ.2507 ปตอไปจะจัดใกลเคียง ในป
               พ.ศ.2509 นั้น จะจัดเพิ่มขึ้นอีก 40 หนวย เพื่อปฏิบัติงานในจังหวัดแมฮองสอน ลําพูน ลําปาง นาน แพร
               อุตรดิตถ พิษณุโลก กําแพงเพชร และกาญจนบุรี รวม 3 ป จะจัดตั้งหนวยเคลื่อนที่ ประมาณ 56 หนวย

               สงเคราะหชาวเขาไดราว 140,000-210,000 คน
                                     (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ, 2507: 150-151)

                       4.1.2 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2518)
                       มีสวนที่เกี่ยวของกับชาวเขาดังตอไปนี้

                       ในบทที่ 7 การพัฒนาสวนภูมิภาคและทองถิ่น มีนโยบายในการพัฒนาตางๆ ในหนา 93 ดังนี้
                              “5. นโยบายในการพัฒนาภาคตางๆ นโยบายในการพัฒนาภาคยอมกําหนดขึ้นโดยสอดคลอง
               กับนโยบายพัฒนาสวนรวมของประเทศ แตอันดับความสําคัญยอมแตกตางกันตามลักษณะภูมิประเทศและ
               ภาวะเศรษฐกิจของแตละสวนภูมิภาค

                                     5.1 นโยบายพัฒนาภาคเหนือ ภาคเหนือมีอาณาเขตกวางถึง 170,000 ตาราง
               กิโลเมตร สวนใหญเปนที่สูงและมีปาไมหนาแนน ที่ราบเพื่อการเกษตรในภาคเหนือตอนบนมีไมมากนัก เนื้อที่
               ถือครองตอครอบครัวเกษตรกรจึงมีขนาดเล็กเพียงประมาณ 9.6 ไร และมีแนวโนมเอียงจะเล็กลงเรื่อย

               เนื่องจากการขยายตัวของจํานวนประชากร ดวยเหตุนี้นโยบายอันสําคัญที่สุดในการพัฒนาภาคเหนือจึงไดแก
               การสงเสริมการผลิตการเกษตรและอาชีพอื่นๆ ของราษฎร เพื่อใหไดรายไดเพียงพอแกการครองชีพเพื่อชดเชย
               เนื้อที่ถือครองซึ่งมีขนาดเล็ก นโยบายที่สําคัญรองลงมาไดแกการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีอุดมสมบูรณให
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118