Page 115 -
P. 115

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-4





                       4.1.3 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519)
                       มีสวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาพื้นที่สูง ในบทที่ 6 การพัฒนาสวนภูมิภาค ไดมีสวนที่เกี่ยวของกับการ
               พัฒนาที่สูง ในหนา 178 ไวดังนี้
                              “6. การพัฒนาที่สูง

                              บริเวณที่สูงในประเทศไทยโดยเฉพาะในเขตภาคเหนือ มีลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ
               แตกตางจากทองที่อื่นๆ ในการพัฒนาทองที่สูง จําเปนตองมีแนวทางการพัฒนาเฉพาะสําหรับที่สูง
                                  1) การพัฒนาสังคม ประชาชนในแถบภูเขาและที่สูงมีภาษาและขนบธรรมเนียมแตกตาง
               ออกไป สวนใหญมีอาชีพทางทําไรเลื่อนลอยและปลูกฝนดวย ในปจจุบันกรมประชาสงเคราะหและตํารวจ

               ชายแดน มีบทบาทในการชวยเหลือชาวเขามาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการศึกษา การอนามัย การพัฒนา
               อาชีพ การปกครอง และการใหความอารักขาและความมั่นคงปลอดภัย
                                  2) การปองกันปาไมและแหลงน้ําโดยการหยุดยั้งการทําไรเลื่อนลอย สนับสนุนใหราษฎร
               มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยออกโฉนดใหเพื่อใหอยูทําการเกษตรเปนหลักแหลง พื้นที่ดินซึ่งถูกถากถางลงจะไดมีการ

               ปลูกปาไมขึ้นแทน
                                  3) การสนับสนุนใหปลูกพืชหลายชนิด โดยเฉพาะพืชเมืองหนาว ซึ่งขึ้นไดดีในภาคนี้โดย
               จัดตั้งสถานีวิจัยการเกษตรพื้นที่สูง
                                  4)  การสงเสริมการเลี้ยงปศุสัตว โดยการพัฒนาทุงหญาในเขตที่สูง รวมทั้งโคนมดวย”

                       ในบทที่ 13 กิจการสังคม ไดวิเคราะหผลการพัฒนาดานสังคม เกี่ยวกับ การพัฒนาสงเคราะหชาวเขา
               ในหนา 372 ไวดังนี้
                              “5. การพัฒนาสงเคราะหชาวเขา ในการพัฒนาและสงเคราะหชาวเขา รัฐบาลไดเรง

               ดําเนินการ โดยจัดตั้งหนวยพัฒนาและสงเคราะหแกชาวเขาเคลื่อนที่จํานวน 60 หนวย พัฒนาและสงเคราะห
               แกชาวเขาได 600 หมูบาน เปนจํานวนชาวเขา 70,000 คน จัดที่ดินใหชาวเขาไดมีที่อยูอาศัยและทํากินเปน
               หลักแหลงในนิคมสรางตนเอง 4 แหง 2,000 ครอบครัว และสงเสริมใหชาวเขาประกอบอาชีพเกษตรกรรม
               ปลูกไมยืนตนที่มีคาทางเศรษฐกิจ เชน ชา กาแฟ แทนการปลูกฝน ในดานชาวเขาสัมพันธไดสงเสริมขยายงาน

               พระธรรมจาริกประจําหมูบานชาวเขา 100 หมูบาน”
                                  ทั้งนี้ไดมีโครงการสงเคราะหชาวเขาในหนา 379 ดังนี้
                                    “6. การสงเคราะหชาวเขา ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 จะทําการปรับปรุง
               นิคมชาวเขาที่มีอยูเดิม 4 แหง ใหสามารถรับชาวเขาที่อพยพจากเขตที่มีผูกอการรายทางภาคเหนือประมาณ

               1,000 ครอบครัว ขยายหนวยพัฒนาและสงเคราะหชาวเขาเคลื่อนที่ใหกวางขวางโดยจัดตั้งหนวยเคลื่อนที่ขึ้นปละ 50
               หนวยเพื่อใหสามารถครอบคลุมหมูบานชาวเขาทางภาคเหนือ 600 หมูบานเปนประชากร 50,000 คน ทําการ
               วิจัยและศึกษามนุษยวิทยาของชาวเขา จํานวน 5 เผา และทําการวิจัยสภาพของชาวเขาเพื่อประโยชนในการ
               ดําเนินงานของโครงการ ตลอดจนประเมินผลงานสงเคราะหชาวเขา

                                  ดําเนินการสงเสริมและขยายงานดานชาวเขาสัมพันธ โดยจัดสงพระธรรมจาริกไป
               เผยแพรพุทธศาสนาแกชาวเขาทางภาคเหนือ จํานวน 500 หมูบาน เปนชาวเขาประมาณ 100,000 คน
               สงเสริมใหมีการปลูกไมยืนตนที่มีคาทางเศรษฐกิจ เชน ชา และกาแฟ เปนตน ใน 3,000 หมูบาน”
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120