Page 112 -
P. 112

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-1





                                                          บทที่ 4

                                        นโยบายแหงรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูง


                       การทบทวนวรรณกรรมในบทนี้จะครอบคลุมนโยบายแหงรัฐในการบริหารจัดการพื้นที่สูงรวม 5 เรื่อง
               คือ (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่สูง (2) มติคณะรัฐมนตรีที่
               เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่สูง (3) นโยบายในการควบคุมการใชพื้นที่สูง (4) นโยบายในการอนุญาตให

               ราษฎรอยูอาศัยและทํากินในพื้นที่ปาไม และ (5) นโยบายชาวเขา โดยมีรายละเอียดดังนี้

               4.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่สูง

                       รัฐไดมีนโยบายเรื่องพื้นที่สูงมาตั้งแต พ.ศ. 2499 ซึ่งปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
               ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) ถึงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)  โดยมีรายละเอียดดังนี้

                       4.1.1 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509)

                       ในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) มีแนวทางดําเนินงานเกี่ยวกับการ
               พัฒนาการดานมหาดไทย ซึ่งไดโครงการนิคมสรางตนเองสงเคราะหชาวเขาในหนา 77 โดยมีรายละเอียดดังนี้
                              “(4) โครงการนิคมสรางตนเองสงเคราะหชาวเขา
                              โครงการนิคมสรางตนเองสงเคราะหชาวเขาเปนโครงการหนึ่ง ซึ่งตองรีบดําเนินการ

               เพื่อปองกันการทําลายปาทางตนน้ําลําธาร ปาประเภทนี้ถูกชาวเขาแผวถางเพื่อทําไรเลื่อนลอยชั่วครั้งคราว
               เมื่อดินจืดและหญาคาขึ้น ก็ละทิ้งไปแลวตั้งตนแผวถางที่อื่น เพื่อทําไรตอไป
                              ในการที่จะปองกันปาตนน้ําลําธาร และปาอื่นๆ ซึ่งสมบูรณดวยไมมีคา มิใหถูกทําลายตอไป

               นั้นจะตองดําเนินการดังนี้ คือ
                                     1. ชักชวนชาวเขาใหตั้งหลักฐานทํามาหากินเปนที่เปนทาง ชวยเหลือสงเสริมใหทํา
               การปลูกเพื่อใหมีรายไดเปนประจํา และไมยอมใหยายไปอยูที่อื่น
                                     2. ที่ดินที่จะจัดแบงใหชาวเขาใชทํามาหากินนั้น ตองไมเปนที่ดินตนน้ําลําธาร หรือ

               ที่ดินในบริเวณปาใหญที่สมบูรณดวยไมมีคา
                                     ชาวเขาเผาตางๆ ซึ่งตํารวจตระเวนชายแดนไดทําการสํารวจใน พ.ศ. 2500
               มีอยู 95,721 คน จํานวนชาวเขาที่อพยพเขามาในราชอาณาจักรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งจะตองคอยสอดสองดูการ
               เคลื่อนไหวอยางใกลชิด ถาชาวเขาอพยพเขามามาก จะเปนภาระหนักแกรัฐบาลที่จะตองจัดการใหมีที่ทํามาหากิน

               เปนหลักแหลง ซึ่งชนพวกนี้ ไมคุนเคยมากอน ความสิ้นเปลืองสําหรับการนี้จะมีมากขึ้น กรมประชาสงเคราะห
               ไดชักชวนใหชาวเขาทําไรชาและกาแฟ ปลูกพืชผักตางๆ สําหรับเก็บเมล็ดทําพันธุ เชน ผักคะนา ผักกาดชนิดตางๆ
               และถั่วลันเตา เปนตน ตลอดจนเลี้ยงปศุสัตว (สุกรและไก) โดยมุงจะใหใชพันธุที่ดีกวาเดิมกรมประชาสงเคราะหไดเริ่ม
               งานไวแลว 2 แหง คือ (1) ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม (2) ดอยมูเซอร จังหวัดตาก ในการตอไปจะเปดนิคมสราง

               ตนเองสงเคราะหชาวเขาอีก 2 แหง คือ (ก)ทองที่จังหวัดเลย (ข)ทองที่จังหวัดเชียงราย (สภาพัฒนาเศรษฐกิจ
               แหงชาติ, 2503: 77)”
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117