Page 118 -
P. 118

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-7





               การชวยเหลือกันภายในหมู โดยการริเริ่มของทางราชการ ดวยการสนับสนุนทางดานวิชาการและกําลังเงิน
               สวนในบริเวณตนน้ําและลําธารที่ถูกทําลาย และละทิ้งแลวนั้น จะตองมีโครงการปลูกปาและจัดตั้งหมูบานใหม
               ขึ้น แลวดําเนินโครงการในรูปสมบูรณแบบ และจะตองมีการพิจารณาใหกรรมสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน เพื่อให
               ชาวเขามีความมั่นคงทางจิตใจ และมีความรูสึกวาตนเปนสวนหนึ่งในสังคมไทย”

                                     ในสวนที่สาม บทที่ 8 การพัฒนาสังคม ไดมีแนวทางการแกไขปญหายาเสพติดใหโทษ
               ในหนา 313 ดังนี้
                                     “1.2.4 การสนับสนุนการปลูกพืชทดแทน ฝนเปนตัวการและเปนที่มาของเฮโรอิน
               จึงควรหาวิธีการมิใหชาวเขาเผาตางๆ ตอนเหนือของประเทศมีการปลูกฝนโดยการจัดหาที่ที่เหมาะสมจัดตั้ง

               เปนนิคมชาวเขาขึ้น ใหตั้งถิ่นฐานใหเปนหลักแหลง และสงเสริมใหมีการปลูกพืชทางดานเศรษฐกิจที่ไมผิด
               กฎหมายแทนฝนพรอมทั้งจัดหาตลาดใหแกพืชผลที่ผลิตได”
                                     ไดมีการจัดตั้งงบประมาณ ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไวดังนี้


                                                                           วงเงิน (ลานบาท)
                                    ลักษณะและ                                     เงิน      รายได
                    แผนงาน                           งบประมาณ        เงินกู
                                     สาระสําคัญ                                 ชวยเหลือ  รัฐวิสาหกิจ  รวมทั้งสิ้น
                                                       แผนดิน     ตางประเทศ
                                                                               ตางประเทศ  และทองถิ่น
                4.3 วิจัยและ    ดําเนินการศึกษาวิจัยและให  375        -          (10)        -          385
                สงเคราะหชาวเขา   การสงเคราะหชาวเขาที่
                                อาศัยอยูในประเทศใหมี
                                มาตรฐานความเปนอยูดีขึ้น

               (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2519: 105,163,198,289,313,362)


                       4.1.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
                       ในสวนที่ 5 การพัฒนาโครงสรางและกระจายบริการทางสังคม บทที่ 4 แนวนโยบายและเปาหมาย
               สวัสดิการสังคม ไดมีสวนที่เกี่ยวของกับปญหาการปลูกฝนของชาวเขา ในหนา 284 ดังนี้
                              “3.1 ปญหาการปลูกฝนของชาวเขา

                              การปลูกฝนในประเทศไทย ผูที่ปลูกฝนเปนชาวเขาที่อยูกินอยางอิสระมานาน มีวัฒนธรรม
               ประเพณีภาษาเปนของตนเอง บุคคลกลุมนี้ทําการปลูกฝนมาชานานดวยเหตุผลสําคัญ 2 ประการ คือ ประการ
               แรก เพื่อเปนแหลงที่มาของรายได หรือเพื่อการจําหนายแลกกับเครื่องบริโภคอุปโภคที่จําเปนในการดํารงชีวิต
               และเหตุผลประการหลักคือเพื่อใชเปนยารักษาโรค และในพิธีกรรมทางสังคม ชาวเขาปลูกฝนโดยการตัดไม

               ทําลายปาอันเปนตนน้ําลําธารเพื่อใชเปนที่ปลูกฝน และทําไรเลื่อนลอย ดังนั้น ผลกระทบที่เกิดจากการปลูกฝน
               นอกจากจะกอใหเกิดความเสียหายอยางใหญหลวงในทางเศรษฐกิจสังคมอันเกิดจากตัวยาเสพติดเองแลว ยัง
               นําไปสูการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ ปาไม ที่ดิน และแหลงน้ําอีกดวย

                              จากการสํารวจในป 2523-2524 ปรากฏวามีพื้นที่ทําการปลูกฝน 40,411 ไร และไดเริ่มมี
               การเตรียมพื้นที่สําหรับการปลูกฝน ในป 2524-2525 อีกเปนจํานวนมาก ผลผลิตฝนจากสามเหลี่ยมทองคําใน
               เขตพื้นที่สามประเทศ คือ พมา ลาว ไทย คาดวาจะไดประมาณ 460 ตัน และจะเปนฝนที่ผลิตในประเทศไทย
               ประมาณ 53 ตัน
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123