Page 119 -
P. 119

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       4-8





                              ทั้งนี้ไดกําหนดมาตรการพัฒนาดานปองกันและกําจัดพืชเสพติด ในหนา 286-287 ดังนี้
                              “3.2.4 ดานปองกันและกําจัดพืชเสพติด
                                     (1) ลดพื้นที่การปลูกฝน โดยการเพิ่มผลผลิตพืชทดแทนใหเพียงพอแกการบริโภค
               และงานที่อาศัยทรัพยากรในพื้นที่และทักษะพิเศษของชาวเขาเปนสําคัญ เชน การสงเสริมการปลูกพืช

               เศรษฐกิจ และสงเสริมดานหัตถกรรมโดยรวมดําเนินการระหวาง กรมประชาสัมพันธ กรมปาไม กรมสงเสริม
               การเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนตน
                                    (2) สงเสริมและสนับสนุนดานการตลาดสําหรับผลิตผลที่ผลิตเพื่อการจําหนายของ
               ชาวเขาโดยความรวมมือระหวางกระทรวงพาณิชยและหนวยงานเอกชนตางๆ

                                    (3) ยกระดับการศึกษา โดยเนนการศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาภาค
               บังคับรวมทั้งใหบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน
                                    (4) จัดระบบชุมชนชาวเขาใหอยูเปนหลักแหลง มีระบบและทะเบียน ควบคุมโดย
               กรรมการปกครอง กอ.รมน.กรป.กลาง บก.04”


                              สวนที่ 5 บทที่ 5 กลุมเปาหมายพิเศษในการพัฒนาสังคมไดมีการพัฒนาชาวเขาในขอ ค หนา
               322-324 ดังนี้
                              “ค. การพัฒนาชาวเขา
                                 1. สภาพและปญหา

                                 ประชากรชาวเขาในประเทศไทย อาจจําแนกเปนเผาใหญๆ จํานวน 6 เผา คือ แมว เยา
               มูเซอร ลีซอ อีกอ และกะเหรี่ยง ชาวเขาเหลานี้ตั้งหมูบานกระจัดกระจายบนภูเขาสูงทางภาคเหนือและแนว
               ชายแดนดานตะวันตกทางราชการสํารวจพบในป 2523 มีจํานวนทั้งสิ้น 2,480 หมูบาน และมีประชากร

               ชาวเขาจํานวน 348,193 คน ซึ่งคาดวายังมีหมูบานที่เขาสํารวจไมถึงอีกประมาณกวา 1,000 หมูบาน
               การดํารงชีวิตและประกอบอาชีพแบบลาหลังของชาวเขาทําใหเกิดปญหาและผลกระทบตอสังคมสวนรวม
               หลายประการ และนับวันจะทวีความรุนแรงและซับซอนยิ่งขึ้น ปญหาดังกลาวประกอบดวย
                              ปญหาดานประชากร การเพิ่มประชากรโดยธรรมชาติและโดยการอพยพของชาวเขาเองทั้ง

               จากภายในและภายนอกประเทศ และการอพยพขึ้นไปทํากินบนภูเขาของประชากรพื้นราบพบวา ในพื้นที่
               ภาคเหนือตอนบนมีชุมชนที่มีความหนาแนนสูงสุดเฉลี่ย 13 คน ตอ ตร.กม. ในบางอําเภอของจังหวัดเชียงราย
               และเชียงใหม และขนาดชุมชนโดยเฉลี่ยอยูระหวาง 10,000-25,000 คนขึ้นไป อัตราการเกิดของชาวเขายังคง
               อยูในระดับสูงที่สุดถึงรอยละ 4.3 อัตรา การตายของทารกมีแนวโนมลดลงเนื่องจากบริการดานสาธารณสุขของ

               รัฐเริ่มเขาไปถึง โดยสาเหตุการเพิ่มประชากรทางธรรมชาติดังกลาวทําใหคาดการณไดวาในระยะ 5 ป ขางหนา
               ประชากรชาวเขาจะเพิ่มปละ 10,000 คน เปนอยางนอย

                                     1.1 ปญหาดานเศรษฐกิจและสังคม

                                            (1) อาชีพและรายได ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพการเกษตรเพียง
               เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวเปนหลัก ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคจึงนําออกจําหนาย ประมาณรายไดของ
               ชาวเขาโดยเฉลี่ย 3,500-10,000 บาทตอครอบครัวตอป
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124