Page 80 -
P. 80
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ของจีน ผลิตข้าวได้ 1.89 ล้านตัน และมณฑลอันฮุย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออก ผลิตข้าวได้ 1.64 ล้านตัน
ตามล าดับ (ส านักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองเซี่ยเหมิน, 2019) รูปที่ 17 ด้านล่างนี้แสดงจ านวน
กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคที่เคยซื้อข้าวที่มีแหล่งก าเนิดจากที่ต่างๆ จากตารางที่ 12 ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่าง
ผู้บริโภคข้าวชาวจีนในกว่างโจว เคยซื้อข้าวที่มีแหล่งก าเนิดในประเทศที่ปลูกในพื้นที่ภาคใต้เป็นส่วนใหญ่
จ านวน 580 คน รองลงมาในจ านวนไล่เลี่ยกันเคยซื้อข้าวที่มีแหล่งก าเนิดจากพื้นที่เพาะปลูกทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 530 คน ถึงแม้ว่าประเทศจีนจะสามารถปลูกข้าวได้เกือบทุกภูมิภาคและมี
ผลผลิตข้าวมากเป็นอันดับ 1 ของโลก เนื่องจากจีนมีประชากรจ านวนมากจึงท าให้ข้าวที่ผลิตได้ไม่เพียงพอ
ส าหรับการบริโภคภายในประเทศ ท าให้มีการน าเข้าข้าวมากเป็นอันดับ 1 ของโลกเช่นกัน จากตารางกลุ่ม
ตัวอย่าง 665 คนเคยซื้อข้าวน าเข้าจากไทย ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ปากีสถาน และอินเดีย ถือได้ว่าข้าวน าเข้า
จากต่างประเทศได้รับความนิยมจากผู้บริโภคชาวจีน โดยจ านวนสูงสุด 601 คน เคยซื้อข้าวจากประเทศไทย
รองลงมาคือข้าวจากประเทศกัมพูชา ญี่ปุ่น เวียดนาม ปากีสถาน และอินเดีย ตามล าดับ
ตารางที่ 12 แหล่งก าเนิดข้าวที่ผู้บริโภคเคยซื้อมาบริโภคในครัวเรือน
รวม/เฉลี่ย (คน) ร้อยละ
แหล่งก าเนิดข้าว (เพาะปลูก)
ไม่เคย (0) เคย (1) ไม่เคย (0) เคย (1)
ภาคเหนือ 432 233 65.0 35.0
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 135 530 20.3 79.7
ภาคตะวันออก 501 164 75.3 24.7
ภาคใต้ 85 580 12.8 87.2
ภาคกลาง 611 54 91.9 8.1
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ 630 35 94.7 5.3
ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 618 47 92.9 7.1
ประเทศญี่ปุ่น 338 327 50.8 49.2
ประเทศไทย 64 601 9.6 90.4
ประเทศกัมพูชา 181 484 27.2 72.8
ประเทศเวียดนาม 366 299 55.0 45.0
ประเทศปากีสถาน 614 51 92.3 7.7
ประเทศอินเดีย 629 36 94.6 5.4
ประเทศอื่นๆ 661 4 99.4 0.6
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
63