Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เชื่อมโยงอารมณ์ความรู้สึกของผู้บริโภค ไปถึงขั้นพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อได้ เช่น การรับฟังโฆษณาข้าวหอม

               มะลิจากวิทยุ โทรทัศน์ จากร้านค้าและการฟังจากการบอกต่อของคนรอบข้าง


                       ประสาทสัมผัสที่ 3 เป็นประสาทสัมผัสทางการได้กลิ่น จมูกเป็นประสาทสัมผัสที่เที่ยงตรงมากที่สุด
               เพราะจมูกของคนเราเมื่อได้รับกลิ่นแล้ว จะส่งตรงไปที่สมองและดึงเอาความทรงจากลับมาโดยไม่ได้แปรผลนั่น

               หมายความว่า ถ้ากลิ่นนั้นเป็นกลิ่นที่เราเคยได้กลิ่นแล้ว และมีความทรงจ ากับกลิ่นนั้นอยู่แล้ว เมื่อได้กลิ่นอีก

               ครั้ง สมองจะดึงความทรงจ าส่วนนั้นกลับมา แต่ถ้ากลิ่นนั้นเป็นกลิ่นที่ยังไม่เคยได้กลิ่นมาก่อนสมองก็จะท าการ

               บันทึกกลิ่นใหม่และจดจ าเอาไว้ และถ้าเราได้กลิ่นอีกครั้ง ความทรงจ านั้นจะถูกดึงกลับมา เรื่องกลิ่นถ้าน าไป

               ผสมกับสินค้าและบริการแล้ว ยิ่งช่วยเพิ่มความจดจ าสินค้าได้อย่างแม่นย า เช่น กลิ่นอโรม่า ของข้าวหอมมะลิ


                       ประสาทสัมผัสที่ 4 ประสาทสัมผัสทางการรับรส ในปากของคนเรามีปุ่มรับรสอยู่บนลิ้น ท าหน้าที่รับ
               รส เปรี้ยว หวาน เค็ม ขม ซึ่งปุ่มรับรสตรงลิ้นจะมีจุดต่างกันไป อย่างเช่น ปลายลิ้นจะท าหน้าที่ในการรับรส

               หวาน ถ้าเป็นรสเค็ม ปุ่มรับรสก็จะกระจายอยู่ทั่วลิ้น ถ้ารสเปรี้ยวก็จะอยู่ข้างลิ้น ถ้ารสขมก็จะอยู่โคนลิ้น ใน

               ปัจจุบันก็มีรสชาติต่างๆ มากมายที่ผลิตขึ้นมาเป็นรสชาติสังเคราะห์ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค

               อย่างเช่น บะหมี่กึ่งส าเร็จรูปหลากหลายรสชาติ ซึ่งเป็นรสชาติที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ

               ของผู้บริโภค ดังนั้นคุณค่าของประสาทสัมผัสปากท าหน้าที่ในการเลือกของการรับรสชาติและท างานส่งเสริม

               และสัมพันธ์โดยตรงกับกลิ่น เพื่อให้ได้กลิ่นที่ดีที่สุดในการรับประทานอาหารนอกจากนี้ยังอ่อนไหวต่อการรับรู้
               เพราะถ้ารสชาติผิดไปแม้แต่น้อยเรามักจะจับได้ว่า ร้านอาหารประจ าที่เราเคยรับประทานเปลี่ยนไปนั่นเอง

               สุดท้ายการมีรสชาติเฉพาะท าให้เกิดการเรียนรู้ การรับรู้และเกิดการจดจ าได้ ดังนั้นเมื่อผู้บริโภคได้รับรสชาติ

               ข้าวหอมมะลิไทย ได้รับประสาทสัมผัสทางปากจะท าให้รู้สึกพึงพอใจ จนเป็นตัวแปรให้เกิดการตัดสินใจซื้อข้าว

               หอมมะลิไทย หรือมีความจงรักภักดีต่อข้าวหอมมะลิไทย


                       ประสาทสัมผัสที่ 5 เป็นประสาทสัมผัสทางผิวหนัง ผิวหนังของคนเราไม่ได้มีหน้าที่แค่ปกคลุมอวัยวะ

               ภายในเท่านั้น ผิวหนังของคนเรายังท าหน้าที่ในการรับสัมผัส การสัมผัสที่เรารับรู้ได้เพราะเรามีหน่วยการรับรู้
               ถึง 4 ล้านหน่วยบนผิวหนัง ซึ่งการสัมผัสจะท าให้รับรู้ถึงผิวสัมผัสของวัตถุที่สัมผัส นอกจากนี้ ยังรับรู้ถึงความ

               ตื้น ลึก หนา และบางของวัตถุนั้นๆ ด้วยผู้ชายและผู้หญิงมีความแตกต่างกัน ผู้หญิงมีชั้นผิวหนังที่บางกว่าผู้ชาย

               3 เท่า ดังนั้น ผู้หญิงจะมีความละเอียดอ่อนกว่าผิวสัมผัสของผู้ชายนั่นเอง ในการเลือกซื้อข้าวสารยังมีความเชื่อ

               ว่าน ามือเข้าไปในกองข้าวสาร หากว่าเย็นก็คือข้าวที่ดี เป็นต้น


                        “เซนโซแกรม” (Sensogram) แบบจ าลอง เซนโซแกรมนี้ จะเป็นตัวบรรยายถึง ความน่าสนใจของ
               แบรนด์ในมิติทางประสาทสัมผัส ทั้งในแง่การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรู้รสและการสัมผัส

               (แล้วแต่ว่าแบรนด์นั้นจะเลือกสื่อสารในกี่มิติสัมผัส) ซึ่ง Lindstrom ชี้ว่ามิติทางประสาทสัมผัสต่างๆ เหล่านี้จะ

               ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ขึ้น ซึ่งเกณฑ์ในการพิจารณาการสื่อสารผ่านมิติทางประสาทสัมผัสนั้น ควรพิจารณาว่า ได้




                                                           20
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42