Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               2.3 การรับรู้ทางประสาทสัมผัส (Sensory Perception)

                       Krishna (2012) ความรู้สึกและการรับรู้เป็นขั้นตอนของการประมวลผลความรู้สึก ความรู้สึกเป็น
               ปรากฏการณ์ทางชีวเคมีของธรรมชาติ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการกระตุ้นเซลล์รับของอวัยวะประสาทสัมผัส (Krishna,

               2012) ในทางตรงกันข้าม การรับรู้หมายถึง ระดับของการรับรู้ข้อมูลและความเข้าใจทางประสาทสัมผัส


               2.3.1 การสัมผัส (Haptics, Touch)











               รูป 10 The characteristics of the touch sense
               ที่มา: Bild & Form Jonny Hallberg. 2009


                       อริสโตเติลผู้ที่เสนอว่าล าดับชั้นความส าคัญของประสาทสัมผัสทั้งห้า "สัมผัส" จะอยู่อันดับแรก Peck
               and Childers (2003) ระบุว่าวิธีเดียวที่จะยืนยันว่าผลิตภัณฑ์ที่ควรค่าแก่การซื้อสินค้าคือการจับต้องและ

               สัมผัส การวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้ที่สัมผัสหรือใช้งานผลิตภัณฑ์หรือสินค้าจริงก่อนซื้อจะมีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อ

               ท าการซื้อ (Peck and Childers, 2003)
               การศึกษาบางส่วนยังศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงด้านความรู้สึก ในกรณีของมนุษย์สัมผัสกับมนุษย์ เช่นบ

               ริกรที่สัมผัสลูกค้า อาจเป็นกลยุทธิ์ที่ใช้เพิ่มระดับความพึงพอใจที่ลูกค้ารู้สึก (Krishna, 2012) การสัมผัสอาจ
               สร้างผลกระทบทางลบเมื่อผลิตภัณฑ์สัมผัสผลิตภัณฑ์ เช่นในกรณีของผลิตภัณฑ์ที่บรรจุข้างกันอย่างแน่นหนา

               บนซุปเปอร์มาร์เก็ต วางผ้าอนามัยติดกับมันฝรั่งทอด (Krishna, 2012) ก็ล้วนมีผลต่อการซื้อสินค้านั้นๆทั้งสื้น


               2.3.2 กลิ่น (Olfaction, Smell)










               รูป 11 The organization of the smell sense
               ที่มา: Bild & Form Jonny Hallberg. 2009


                                                           15
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37