Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       ทุกรสชาติที่บุคคลมีประสบการณ์นั้นเป็นการผสมผสานระหว่างประสาทสัมผัสทั้งห้า (Krishna, 2012)

               เป็นการยากที่จะระบุเกี่ยวกับรสชาติของอาหาร หากอาหารนั้นไม่มีกลิ่น ความรู้สึกและรับรู้ของรสชาติจึง
               ขึ้นอยู่กับความรู้สึกอื่นๆ ด้วย ชื่อแบรนด์ก็สามารถมีอิทธิพลต่อการรับรู้รสชาติ (Lee, Frederick และ Ariely,

               2006) กฤษณะ (2012) ยังระบุว่าการโฆษณาการเปิดเผยส่วนผสมและประเภทบ ารุงสุขภาพก็จะมีผลต่อการ

               รับรู้รสชาติอีกด้วย


               2.3.5 การมองเห็น (Vision, Sight)











               รูป 14 A comparison between the human eye and a camera
               ที่มา: Bild & Form Jonny Hallberg. 2009

                       Krishna (2012) ระบุว่ามีการวิจัยจ านวนมากที่ศึกษาในแง่ของการมองเห็น ท าให้มีมุมมองที่มองเห็น

               ได้ง่ายขึ้นส าหรับการพิจารณาข้อมูลผลิตภัณฑ์ เป็นรูปแบบการรับรู้ที่ควบคุมได้ง่ายที่สุดของประสาทสัมผัสทั้ง

               ห้า ซึ่งผู้บริโภคสามารถใช้การมองเห็นในการค านวณและตัดสินสินค้าชนิดนั้นๆได้ (Krishna, 2012)
               ตาราง 6 เซ็นเซอร์ ความรู้สึกและองค์ประกอบความรู้สึกรวมกับแนวคิดทางการตลาด

                 เซ็นเซอร์   ความรู้สึก            การแสดงออกทางประสาทสัมผัส รวมกับแนวคิดทางการตลาด
                   กลิ่น    ซึ่งรับรู้ผ่าน  เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่มีความส าคัญที่เกี่ยวกับความรู้สึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะใช้กับผลิตภัณฑ์
                            บรรยากาศ   ประเภทเครื่องส าอางและอาหาร กลิ่นสามารถกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ ท าให้เกิดความรู้สึกสงบเยือก

                                       เย็น ช่วยกระตุ้นความจ าหรือช่วยบรรเทาความเครียดให้ลดลงได้ เช่นกลิ่นหอมของข้าวหอมมะลิ
                                       และน้ าหอม เครื่องหอมต่างๆ
                   เสียง   ซึ่งรับรู้ได้ด้วย เป็นสิ่งเร้าที่สามารถรับได้ด้วยการได้ยิน นักการตลาดได้ให้ความส าคัญเกี่ยวกับเสียงมาก การ

                          การได้ยินเสียง  โฆษณาที่มีเสียงเพลงประกอบมีส่วนช่วย ให้ผู้บริโภคเกิดความรู้จักตราสินค้า (Brand awareness)
                                       เป็นอย่างดี การสร้างบรรยากาศด้วยเสียงเพลงมีส่วนช่วยสร้างอารมณ์ท าให้จิตใจเบิกบาน
                                       เสียงเพลง เสียงดนตรีสามารถสื่อถึง เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นๆ เช่น โฆษณา ไอกรีม วอลล์ มิ

                                       สทีนฯลฯ
                   ภาพ     ซึ่งรับรู้ได้ด้วย ภาพเป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุด ที่สื่อแก่กลุ่มเป้าหมาย ยังมีอิทธิพลต่อการตอบสนองทางด้านจิตวิทยา
                           การมองเห็น  และอารมณ์ของผู้บริโภคอีกด้วย ด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์ รูปร่าง สีต่างๆ ซึ่งท าให้เกิดความคุ้น
                                       ชินจนเป็นเอกลักษณ์หรือ สัญลักษณ์ของตราสินค้า

               ที่มา: จากการส ารวจ 2563



                                                           17
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39