Page 124 -
P. 124
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จารึกชีวิต
๑๐๐. พระอัฏฐารศ พระพุทธรูปยืนปางห้ามญาติ ๑๒๒. วันเดือนดับ วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ คือ แรม
อัฏฐารส แปลว่า สิบแปด อาจหมายถึงสูง ๑๕ คำ่า ในเดือนเต็ม หรือแรม ๑๔
สิบแปดศอกหรือต้องด้วยพุทธธรรม คำ่าในเดือนขาด
๑๘ ประการ ๑๒๓. เดือนโอก ขึ้น ๘ คำ่า แปดวัน
๑๐๑. อัน เป็นลักษณะนามที่สุโขทัยนิยมนำา ๑๒๔. วันเดือนเต็ม วันเพ็ญ วันขึ้น ๑๕ คำ่า
มาใช้กับนามเกือบทุกคำารวมทั้ง ๑๒๕. เดือนบ้าง แรม ๘ คำ่า แปดวัน
พระพุทธรูป พระเจดีย์ กลอง ฯลฯ ๑๒๖. สูด สวด
และใช้เป็นสรรพนามที่แทนคำาที่อยู่ ๑๒๗. ผิใช่ หากไม่ใช่
ข้างหน้า ๑๒๘. คัล เข้าเฝ้า
๑๐๒. ตะวันโอก ตะวันออก ๑๒๙. กระพัดลยาง กระพัด สายรัดกูบบนหลังช้าง
๑๐๓. พีหาร วิหาร วัด ลยาง สัปคับ (เขมร-รยาง)
๑๐๔. ทะเลหลวง ที่กว้างที่มีนำ้าขังในฤดูฝน ๑๓๐. รูจาครี ชื่อช้าง ตั้งตามชื่อตระกูล
๑๐๕. ถิ่นถาน ถิ่นฐาน ช้างรูจาคิริ เป็นช้างตระกูลดีที่สุด
๑๐๖. แกล้ง ตั้งใจ (คัมภีร์โลกบัญญัติ)
๑๐๗. เบื้องตีนนอน ทางทิศเหนือ ๑๓๑. นบ ไหว้
๑๐๘. ตลาดปสาน ตลาดที่ตั้งของขายเป็นประจำา ตลาด ๑๓๒. เมืองชเลียง เมืองโบราณ อยู่บริเวณ
ที่มีหลังคาต่อเป็นแถวยาว อำาเภอศรีสัชชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
๑๐๙. พระอจนะ ชื่อพระพุทธรูป ๑๓๓. สถาบก ประดิษฐาน
ถ้า อจล แปลว่า มั่นคง ๑๓๔. กลวง บริเวณ ตรงกับ ควง ของภาคกลาง
ถ้า อัจนะ แปลว่า การบูชานับถือ เช่น ในควงพระศรีมหาโพธิ์ และ
(เที่ยวเมืองพระร่วง) ช่วงของล้านนา เช่น ช่วงวัด
๑๑๐. เบื้องหัวนอน ทางทิศใต้ ๑๓๕. มนังศิลาบาตร ชื่อกระดานหิน น่าจะหมายความ
๑๑๑. สรดภงส์ ทำานบ (จากจารำาเทียบภาษาเขมร ว่า แผ่นหินอ่อน
กับภาษาสันสกฤต บนหลักเดียวกัน) ๑๓๖. เป็นขุน เป็นกษัตริย์
๑๑๒. นำ้าโคก แอ่งนำ้าในที่ดอนนำ้าตก ๑๓๗. มากาว กาว ได้แก่ ไทยเผ่าหนึ่ง ในเมือง
๑๑๓. พระขพุง ชื่อเขาหลวง ในจารึกหลักที่ ๘ และ น่าน มา ไทเผ่าหนึ่ง
๙๘ ใช้พระขพง ๑๓๘. เมืองใต้หล้า เมืองไกลสุดหล้าฟ้าเขียว
๑๑๔. ผีเทพดา เทวดา โดยนำาคำา “ผี” ภาษาไทย ฟ้าฏ (อ) หรือเมืองที่ฟ้าจรดดิน
มาควบกับ “เทพดา” ซึ่งมี ๑๓๙. ไทชาวอู ไทที่อยู่บนแม่นำ้าอู เป็นแม่นำ้าสาขา
ความหมายอย่างเดียวกัน หนึ่ง ไหลมารวมกับแม่นำ้าโขง
๑๑๕. ทุกผี เทวดาทุกองค์ ๑๔๐. ชาวของ (ไท) บนฝั่งแม่นำ้าโขง
๑๑๖. ถือเมือง ปกครองเมือง ๑๔๑. มาออก มาขึ้น มาสวามิภักดิ์
๑๑๗. แล้ แล และ ๑๔๒. ๑๒๐๗ ศก ปีกุน เป็นมหาศักราช ตรงกับ
๑๑๘. เที่ยง มั่นคง ยืนยง พ.ศ. ๑๘๒๘ แต่เป็นปีระกา
๑๑๙. ฮั้น นั่น ๑๔๓. เวียงผา กำาแพงหิน
๑๒๐. หาย สิ้นสูญ อันตรธาน ๑๔๔. ลายสือไทย ตัวหนังสือไทย
๑๒๑. ขดานหิน กระดานหิน แท่นหิน ๑๔๕. ๑๒๐๕ เป็นมหาศักราช ตรงกับ พ.ศ. ๑๘๒๖
122