Page 122 -
P. 122
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จารึกชีวิต
คำาอธิบายศัพท์
๑. ตู เราทั้งหลาย (ไม่รวมผู้ฟัง) ๒๙. ปั่ว บริวารชาย ปั่ว น่าจะตรงกับบ่าว
๒. โสง สอง คือ ชาย ทางอีสาน ใช้บัวนาง
๓. เผือ เราทั้งสอง (ไม่รวมผู้ฟัง) แปลว่า สนม เติมในวัง บัวนาง
๔. ผู้อ้าย ผู้ชายคนแรก อาจจะเป็นบริวารชายและหญิง
อ้าย เท่ากับลูกชายคนที่ ๑ ๓๐. นาง บริวารหญิง
๕. เตียมแต่ ตั้งแต่ (ถิ่นล้านนา) ๓๑. เงือน เงิน
๖. ขึ้นใหญ่ เติบโตขึ้น มีอายุ ๓๒. เวน มอบถวาย
๗. เข้า ปี ขวบ (สมัยก่อนปลูกข้าวปีละครั้ง) ๓๓. ทั้งกลม ทั้งหมด
๘. ท่ (ท่อ) ตี ๓๔. จกอบ ภาษีผ่านด่าน
๙. หัวซ้าย ข้างซ้าย ๓๕. ลูท่าง สะดวก สบาย (ภาษาถิ่นล้านนา
๑๐. เกลื่อนเข้า เคลื่อนพลเข้า และ อีสาน)
๑๑. ไพร่ฟ้า(ฝ้า) ประชาชน พลเมืองหน้าใส ๓๖. เพื่อน ผู้อื่น เช่น ในตระกูลนี้ นายมา
๑๒. ญญ่าย ไปอย่างรวดเร็ว จนกว่าเพื่อน
๑๓. พาย ไป(ถิ่นอีสาน) วิ่ง(เขมร) ๓๗. พ่อเชื้อเสื้อคำา พ่อเชื้อ ใช้คู่กับ เสื้อคำา มี
๑๔. จแจ้น ชุลมุนวุ่นวาย (ถิ่นอีสาน แจน แจน) ความหมายอย่างเดียวกันถิ่นอีสาน
๑๕. เบกพล เบิกพล แหวกพล อ่านคำาว่า เชื้อ ออกเสียงเป็น
๑๖. ต่อช้าง ขนช้าง เชื่อ ปู่ผี เสื้อของไทอาหม แปลว่า
๑๗. ตนกู ตัวกู เทพารักษ์
๑๘. พุ่ง รบ ๓๘. ช้างขอ ช้างที่เคยขอ คือ ช้างที่ฝึกดีแล้ว
๑๙. แพ้ ชนะ พุ่ง…แพ้ คือ รบชนะ ๓๙. เยียข้าว ยุ้งข้าว (ถิ่นอีสาน และไทใหญ่)
๒๐. ขึ้นชื่อ ขนานนาม ๔๐. ไพร่ฟ้าข้าไท ประชาชนพลเมือง บริวาร
๒๑. เพื่อ เพราะ ๔๑. ป่าหมาก สวนหมาก
๒๒. เมื่อชั่ว เมื่อครั้ง ในสมัย ๔๒. ผิดแผกแสกว้างกัน ผิดใจแตกแยกกัน ทะเลาะกัน
๒๓. บำาเรอ รับใช้ ปรนนิบัติ ๔๓. สวน ไต่สวน สอบสวน ไต่ถาม
๒๔. ตัวเนื้อตัวปลา สัตว์บก สัตว์นำ้า ๔๔. แล่งความ ตัดสินความ
๒๕. หมากส้ม ผลไม้รสเปรี้ยว ๔๕. ขา เขาทั้งสอง (สรรพนามบุรุษที่ ๓)
๒๖. หมากหวาน ผลไม้รสหวาน ๔๖. ด้วยชื่อ โดยยุติธรรม
๒๗. ตีหนังวังช้าง คล้องช้าง ๔๗. บ่เข้าผู้ลัก มักผู้ซ่อน ไม่เข้าข้างผู้ขโมย หรือ
ตีหนัง คล้องด้วยบ่วงบาศ ผู้เก็บของตกไป ซ่อนไว้
วังช้าง ต้อนเข้าเพนียด แล้วจับ ๔๘. ฟีน ๑. ยินดี คู่กับเดือด ยินร้าย
๒๘. งวง ช้าง เช่น หาญเราต่อแต่งง้วงไหงวยฤา ๒. มัวเมา (ถิ่นล้านนา ใช้เมา คู่กับ
(ยวนพ่าย) ทหารหาญเราจะไป วิน แปลว่า มัวเมา) เทียบกับ
ต่อสู้กับช้างไหวหรือ งวง เป็น ภาคกลงน่าจะตรงกับ บิ่น ในคำา
ลักษณะนามของช้างก็ได้ บ้าบิ่น)
(ภาษาถิ่น) ๔๙. เดือด เดือดร้อน ยินร้าย
120