Page 227 -
P. 227
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
216 Humanities Journal Vol.22 No.2 (July-December 2015)
ข้อจ ากัดขององค์การเสมือนจริง
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2549) สรุปข้อจ ากัดขององค์การเสมือนจริงไว้
ดังนี้
1. ด้านสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานและผู้บริหารลดลง อาจท า
้
ให้ขาดการกระตุ้นจากการได้พบตัว หรือการได้ข้อมูลปอนกลับจากการท างาน
นอกจากนี้ยังท าให้เส้นแบ่งชีวิตที่บ้านและการท างานไม่ชัดเจน อาจเกิดความเครียด
เพิ่มมากขึ้น
2. ด้านความผูกพันกับองค์การ พนักงานที่มีความรู้มีคุณค่าจะมี
ความรู้สึกผูกพันกับองค์การน้อยลง อาจถูกซื้อตัวด้วยการให้ค่าตอบแทนที่สูงกว่า
อัตราการเข้าออกของพนักงานอาจสูงขึ้น เกิดลักษณะการท างานในรูปแบบของงาน
อดิเรก ไม่จริงจังในการท างาน เกิดการแบ่งแยกระหว่างพนักงานที่ท างานเป็นประจ า
กับพนักงานที่ท างานเป็นงานอดิเรก
นอกจากนี้แล้ว ตามทัศนะของผู้เขียนยังมองเพิ่มเติมว่า องค์การเสมือนจริง
ท าให้พนักงานขาดความรู้ความช านาญในทักษะที่จ าเป็น เนื่องจากสามารถหาได้
จากการจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาด าเนินงานแทน ท าให้พนักงานไม่ใส่ใจหรือ
อาจขาดความสนใจในงานได้
แนวคิดของอุตสาหกรรมบริการ (Hospitality Industry)
ความหมายของอุตสาหกรรมบริการ
Reynolds & Chase (2014: 6) สรุปว่า อุตสาหกรรมบริการ หมายถึง การพบปะ
พูดคุยและตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยความมีน ้าใจไมตรีและความปรารถนา
ดี น ามาซึ่งการให้บริการกับลูกค้าที่เดินทาง ตัวอย่างเช่น อาหาร ที่พัก การเดินทาง
การท่องเที่ยว และการพักผ่อนหย่อนใจ
Walker (2013: 4) สรุปว่า อุตสาหกรรมบริการ หมายถึง การดูแลเอาใจใส่
ให้ที่พักอาศัยแก่นักเดินทาง
ภาติยะ พัฒนาศักดิ์ (ออนไลน์, ม.ป.ป.) สรุปว่า อุตสาหกรรมการบริการ
หมายถึง การประกอบธุรกิจด้านการให้บริการหรืออ านวยความสะดวก เช่น