Page 147 -
P. 147

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                2.1) ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร

                                    ผลการศึกษาพบวํา ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม
                       ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสารในแบบจ าลองสามารถอธิบายการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของ
                       เกษตรกรได๎ 44.91% ผลการประมาณคําสัมประสิทธิ์ตัวแปรพบวํา ครัวเรือนที่มีแรงงานหลักในการปลูกข๎าวเป็นเพศ
                       หญิง ระดับรายได๎ของครัวเรือน ภูมิภาค (อีสานเหนือ อีสานกลาง และอีสานใต๎) รูปแบบการผลิตข๎าว ปริมาณ
                       ผลผลิตข๎าวหอมมะลิ การมียุ๎งฉาง และเกษตรกรที่เคยเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บ
                       ข๎าวหอมมะลิอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยครัวเรือนที่มีสัดสํวนแรงงานเพศหญิงมากจะตัดสินใจจัดเก็บข๎าวไว๎รอ
                       ราคามากกวําครัวเรือนที่มีสัดสํวนแรงงานเพศหญิงน๎อย เนื่องจากกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนที่
                       ต๎องใช๎ความละเอียดและมีการปฏิบัติอยํางตํอเนื่องโดยไมํได๎ใช๎ก าลังแรงงานมาก ในขณะที่รายได๎ของครัวเรือนมี
                       เครื่องหมายหน๎าสัมประสิทธิ์เป็นลบหมายถึงครัวเรือนที่มีรายได๎มากกวํา มีความนําจะเป็นที่จะไมํเก็บข๎าวไว๎รอราคา
                       แตํจะขายทันทีหลังเก็บเกี่ยวมากกวํา ซึ่งสัดสํวนรายได๎จากนอกภาคการเกษตรคิดเป็นประมาณร๎อยละ 80 ของ
                       รายได๎ครัวเรือนเกษตรกรในปัจจุบัน ดังนั้นครัวเรือนที่มีรายได๎สูงขึ้นต๎องใช๎เวลาในกิจกรรมนอกภาคการเกษตรมาก
                       ขึ้น ในกลุํมเกษตรกรที่มีรายได๎สูงจึงเลือกที่จะขายข๎าวทันทีโดยไมํเก็บไว๎รอราคา
                                    นอกจากนั้น สภาพแวดล๎อมหรือรูปแบบการผลิตข๎าวมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าว
                       อยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ โดยความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวเพื่อรอขายของเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนมี
                       คําสูงสุดและต่ าที่สุดในพื้นที่ชลประทาน ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝนมีความเป็นไปได๎ของ
                       การตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิไว๎เพื่อขายต่ ากวํากลุํมเกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไป เพราะสํวนใหญํเกษตรกรที่ปลูก
                       ข๎าวอินทรีย์จะรวมกลุํมผลิตและมีตลาดที่แนํนอนเพื่อรองรับผลผลิตข๎าวอินทรีย์ของตน สํวนตัวแปรภูมิภาค จ านวน
                       ผลผลิตข๎าวหอมมะลิ หรือการมียุ๎งฉางมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของ
                       เกษตรกร โดยครัวเรือนในภาคอีสานใต๎มีความนําจะเป็นที่จะเก็บข๎าวหอมมะลิไว๎รอขายมากกวําเกษตรกรในพื้นที่
                       อื่นๆ และเกษตรกรรายใหญํที่มีผลผลิตข๎าวหอมมะลิปริมาณมากมีแนวโน๎มจะเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําครัวเรือนที่
                       ผลิตข๎าวหอมมะลิในปริมาณน๎อย เกษตรกรที่มียุ๎งฉางตัดสินใจจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําเกษตรกรที่ไมํมียุ๎งฉาง
                       ในขณะที่ต๎นทุนการตากข๎าว ต๎นทุนการผลิตข๎าวที่เป็นเงินสด และราคาข๎าวหอมมะลิในชํวงเวลาที่เกษตรกรเก็บเกี่ยว
                       พื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ ปริมาตรของสถานที่เก็บข๎าว วิธีการเก็บเกี่ยวและแรงงานที่ใช๎ในการตากข๎าว ไมํมี
                       ความสัมพันธ์อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร

                                2.2) ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร
                                    โครงการสินเชื่อชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) เป็นนโยบายของรัฐบาลเพื่อดูดซับ
                       ปริมาณข๎าวเปลือกไมํให๎ออกสูํตลาดในปริมาณมากเกินความต๎องการ ชํวยรักษาเสถียรภาพและยกระดับราคา
                       ข๎าวเปลือกในชํวงที่ผลผลิตออกสูํตลาดเป็นจ านวนมาก โดยเพิ่มทางเลือกให๎กับเกษตรกรในการเก็บรักษาและ
                       ปรับปรุงคุณภาพข๎าวเปลือกเพื่อรอราคา โครงการฯ นี้เริ่มด าเนินการในปี 2557 เกษตรกรจะน าผลผลิตข๎าวเปลือก
                       หอมมะลิและข๎าวเปลือกเหนียวมาขอกู๎กับ ธ.ก.ส. อัตรา 90% ของราคาตลาด วงเงินไมํเกินรายละ 300,000 บาท
                       โดยไมํเสียดอกเบี้ย และเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจะได๎รับคําเก็บรักษาข๎าวเปลือกในยุ๎งฉางอีก 1,500 บาทตํอตัน
                       แตํจ านวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ยังไมํได๎ตามผลผลิตเป้าหมายที่ ธ.ก.ส. ก าหนดและผลผลิตข๎าวในโครงการฯ
                       ยังมีสัดสํวนที่น๎อยเมื่อเทียบกับผลผลิตข๎าวที่ออกสูํตลาด ผลการศึกษาพบวําเกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎สํวนใหญํเคย
                       เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง โดยเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมีสัดสํวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ
                       สูงที่สุดและเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานเข๎ารํวมโครงการฯ น๎อยที่สุด เมื่อพิจารณาจ านวนเกษตรกรที่เข๎ารํวม
                       โครงการฯ พบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ เป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30
                       ไรํ มากที่สุดเทํากับ 53.85%
                                    ผลการประมาณคําแบบจ าลอง Tobit  regression  พบวํา ลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของ
                       เกษตรกร ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสารในแบบจ าลอง
                       สามารถอธิบายการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกรได๎ 49.09% โดยต๎นทุนคําตากข๎าว การมียุ๎งฉาง ภาค
                       อีสานใต๎ จ านวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพื้นที่เพาะปลูก และรูปแบบการผลิต มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจเข๎ารํวม
                       โครงการฯ ของเกษตรกรอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยครัวเรือนที่มีจ านวนแรงงานในครัวเรือนสูงกวํามีความเป็นไป
                       ได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯมากกวําครัวเรือนที่มีแรงงานน๎อย สอดคล๎องกับผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มี
                       อิทธิพลตํอการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรที่อธิบายไว๎ในข๎อ 2.1 นอกจากนั้นเกษตรกรที่มียุ๎งฉางของตนเองมีความ



                                                                                                       119
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152