Page 145 -
P. 145
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 8
สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ที่ผํานมาไมํปรากฏงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องกับรูปแบบและกระบวนการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิแตํละวิธี
และความสัมพันธ์ของการจัดการยุ๎งฉางตํอคุณภาพข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรซึ่งเป็นข๎อมูลส าคัญในการก าหนดแนว
ทางการด าเนินโครงการชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) เพื่อลดอุปทานข๎าวในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวอยํางมี
ประสิทธิภาพและเสนอแนะวิธีการจัดการยุ๎งฉางที่เหมาะสมส าหรับการรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิ การศึกษาครั้งนี้มี
วัตถุประสงค์ 3 ข๎อ ได๎แกํ
- ศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบ กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกหอมมะลิและต๎นทุนสํวนเพิ่มของการ
จัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิของเกษตรกร
- วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
ของเกษตรกร
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะการจัดการยุ๎งฉางที่มีตํอคุณภาพ
ข๎าวหอมมะลิ ได๎แกํ ความหอม เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือกในยุ๎งฉาง
วิธีการศึกษา ใช๎การวิจัยเชิงส ารวจ (survey research) รํวมกับการวิจัยเชิงทดลอง (experimental
research) ซึ่งการวิจัยเชิงส ารวจมีพื้นที่ศึกษาในแหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิที่ส าคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9
จังหวัด ได๎แกํ นครพนม ยโสธร ร๎อยเอ็ด มหาสารคาม นครราชสีมา อุบลราชธานี สุรินทร์ ศรีสะเกษ และบุรีรัมย์
เก็บรวบรวมข๎อมูลและเก็บตัวอยํางข๎าวของเกษตรกรในปีการผลิต 2560/61 จ านวน 330 ตัวอยําง จ าแนกตาม
สภาพแวดล๎อมการผลิตคือพื้นที่ชลประทานกับพื้นที่นาน้ าฝน และรูปแบบการผลิตข๎าวอินทรีย์กับข๎าวทั่วไป ในขณะ
ที่การวิจัยเชิงทดลองท าการศึกษารูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมส าหรับข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และข๎าวหอมมะลิ
ทั่วไปในยุ๎งฉาง 3 ชนิด ได๎แกํ ยุ๎งไม๎ ยุ๎งสังกะสี และเก็บในบ๎าน ท าการทดลองที่ บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุร
พักตรพิมาน จ.ร๎อยเอ็ด โดยรายละเอียดของวิธีการวิเคราะห์ข๎อมูลและผลการศึกษาจ าแนกตามวัตถุประสงค์ทั้ง 3
ข๎อ ดังนี้
1) สภาพยุ้งฉาง รูปแบบ กระบวนการเก็บรักษาข้าวเปลือกและต้นทุนส่วนเพิ่มของการจัดเก็บ
ข้าวเปลือก
การวิเคราะห์ข๎อมูลใช๎สถิติเชิงพรรณนา ได๎แกํ คําเฉลี่ย ความถี่ และเปอร์เซ็นต์ เพื่อน าเสนอสภาพยุ๎ง
ฉาง รูปแบบการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกและวิธีการจัดการยุ๎งฉางของเกษตรกร
ส าหรับการวิเคราะห์ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือกใช๎วิธีการวิเคราะห์ต๎นทุนที่เป็นเงินสด หมายถึงต๎นทุน
ที่เกิดจากกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว ได๎แกํ คําจ๎างแรงงานในการตากข๎าว คําขนสํงข๎าวขึ้นยุ๎งฉาง คํากระสอบหรือ
บรรจุภัณฑ์ คําน้ ามัน และคําเลี้ยงดูแรงงานแลกเปลี่ยน
ผลการศึกษาพบวํา กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะการตากข๎าวเพื่อลดความชื้นกํอนจัดเก็บ
ใช๎แรงงานครัวเรือนเป็นหลัก โดยจ านวนเกษตรกรที่มียุ๎งฉางมีประมาณ 81.57% ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่
ชลประทานมียุ๎งฉางเหลือประมาณ 60% ดังนั้นเกษตรกรสํวนใหญํ 62.73% จัดเก็บข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางภายใน
บริเวณรั้วบ๎าน รองลงมาจัดเก็บในบ๎านและพื้นที่ตํอเติมรอบบ๎าน ปริมาตรของสถานที่เก็บข๎าวเฉลี่ยประมาณ 22.90
ลูกบาศก์เมตร หรือสามารถจัดเก็บข๎าวได๎ประมาณ 13 ตัน เกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขายจะมีขนาดยุ๎งฉางโดย
เฉลี่ยใหญํกวําเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎เพื่อบริโภคและเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานจะมียุ๎งฉางขนาดเล็กกวําพื้นที่อื่นๆ
ยุ๎งฉางที่ใช๎เก็บข๎าวหอมมะลิมีอายุเฉลี่ยประมาณ 17.26 ปี โดยยุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีอายุน๎อย
ที่สุดเพียง 12.4 ปี เทํานั้น ยุ๎งฉางสํวนใหญํสร๎างภายหลังจากการสร๎างบ๎านแล๎ว และเกษตรกรประมาณหนึ่งในสาม
เคยซํอมแซมยุ๎งฉางโดยเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายจะมีสัดสํวนเกษตรกรที่เคยซํอมแซมยุ๎งฉางสูงกวําเกษตรกรกลุํมอื่น
ยุ๎งฉางที่ใช๎จัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรมีความสูงจากพื้นประมาณ 1.45 เมตร แตกตํางกันตามสภาพแวดล๎อม