Page 146 -
P. 146

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       การผลิตคือยุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีความสูงเฉลี่ยน๎อยที่สุด ในสํวนของวัสดุที่ใช๎ในการสร๎างยุ๎งฉาง
                       หรือสถานที่เก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรสํวนใหญํ 91.83% นิยมใช๎พื้นเป็นไม๎ สํวนเกษตรกรที่เก็บข๎าวในบ๎านหรือ
                       พื้นที่ตํอเติมรอบบ๎านพื้นของยุ๎งฉางจะเป็นซีเมนต์หรือกระเบื้องและปูรองพื้นด๎วยไม๎ ไม๎อัด กระดาษอัดหรือสังกะสี
                       แผํนเรียบกํอนจัดเก็บข๎าว ยุ๎งฉางสํวนใหญํ 74.62% เป็นยุ๎งฉางที่ยกพื้นให๎สูง ดังนั้นเกษตรกรสํวนหนึ่งจะใช๎พื้นที่ใต๎
                       ยุ๎งฉางเป็นคอกสัตว์ หรือบางรายอาจจะตํอเติมพื้นที่ข๎างยุ๎งฉางเพื่อใช๎เป็นสถานที่เก็บของ อุปกรณ์การเกษตรหรือ
                       เครื่องใช๎อื่นๆ ที่จ าเป็นในครัวเรือน

                                กํอนน าข๎าวจัดเก็บในยุ๎งฉางหรือสถานที่จัดเก็บข๎าวเกษตรกรทุกรายจะท าความสะอาดกํอนทุกปี โดย
                       กํอนถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวเกษตรกรสํวนใหญํกวํา 95.77% จะเข๎าส ารวจความเสียหายของยุ๎งฉางวํามีรอยรั่วหรือความ
                       เสียหายอื่นๆ หรือไมํ อยํางไรก็ตามแม๎วําเกษตรกรบางรายจะมียุ๎งฉางแตํนิยมเก็บในบ๎านมากกวําเพราะการยก
                       ข๎าวเปลือกไปสีเพื่อบริโภคสะดวกมากกวําการเก็บในยุ๎งฉาง โดยเกษตรกรสํวนใหญํจะเข๎าใช๎ยุ๎งฉางที่เก็บข๎าวหอม
                       มะลิเฉพาะชํวงที่จะน าข๎าวไปสีเพื่อบริโภคหรือเพื่อน าข๎าวไปขาย ซึ่งความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉางเฉลี่ยประมาณหนึ่งหรือ
                       สองครั้งตํอเดือน  ในสํวนขององค์ความรู๎ในการจัดเก็บข๎าวเกษตรกรสํวนใหญํใช๎ประสบการณ์ตนเองและองค์ความรู๎
                       จากพํอแมํหรือบรรพบุรุษ ซึ่งแม๎วําเกษตรกรประมาณหนึ่งในสามเคยอบรมความรู๎เกี่ยวกับการจัดเก็บข๎าวโดยเฉพาะ
                       การตากข๎าวหรือระดับความชื้นข๎าวเปลือกที่เหมาะสม แตํไมํเคยอบรมเกี่ยวกับรูปแบบการจัดเก็บข๎าวเพื่อรักษา
                       คุณภาพข๎าวด๎านตํางๆ ของข๎าวหอมมะลิ
                                ผลการวิเคราะห์ต๎นทุนการปลูกข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดของเกษตรกรพบวําเกษตรกรมีต๎นทุนเฉลี่ย
                       5,066 บาทตํอตัน โดยเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีต๎นทุนการผลิตต่ าที่สุดเฉลี่ย 4,860 บาทตํอตัน เกษตรกรที่เก็บ
                       ข๎าวไว๎ขายและเก็บไว๎บริโภคมีต๎นทุนการผลิตข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดไมํแตกตํางกันมากนัก ในขณะที่ราคาข๎าว
                       หอมมะลิในชํวงเก็บเกี่ยวที่เกษตรกรได๎รับเฉลี่ยประมาณ 9,524 ถึง 10,271 บาทตํอตัน เมื่อพิจารณาต๎นทุนสํวนเพิ่ม
                       จากการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิโดยใช๎ราคาข๎าวหอมมะลิในปีการผลิต 2560/61 พบวําเกษตรกรมีต๎นทุนสํวนเพิ่มจาก
                       การสูญเสียน้ าหนักและเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวประมาณ 190 และ 254 บาทตํอตัน ส าหรับการขายข๎าวหอมมะลิหลัง
                       จัดเก็บ 3 เดือน และ 6 เดือน ตามล าดับ เมื่อรวมกับต๎นทุนคําตากข๎าวแล๎วเกษตรกรจะมีต๎นทุนสํวนเพิ่มเฉลี่ย
                       ประมาณ 526 และ 590 บาทตํอตัน ดังนั้นเกษตรกรจะมีก าไรเหนือต๎นทุนเงินสดเพิ่มขึ้นจาก 4,954 บาทตํอตัน เป็น
                       9,518-10,244 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ 3 เดือน และ 6 เดือน ตามล าดับ

                              2) การตัดสินใจจัดเก็บข้าวและการเข้าร่วมโครงการจ าน ายุ้งฉางของเกษตรกร
                                วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรมี 3 วัตถุประสงค์หลักคือ เก็บไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือน
                       เก็บไว๎เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์ และเก็บไว๎ขาย ซึ่งในเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎ขายบางสํวนเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ
                       ธ.ก.ส. เพื่อรอราคาข๎าวเพิ่มขึ้นหลังจากผํานพ๎นชํวงฤดูเก็บเกี่ยว จากการส ารวจข๎อมูลพบวําเกษตรกรประมาณ
                       52.57% เก็บข๎าวไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือนและใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์ส าหรับฤดูกาลเพาะปลูกตํอไปเทํานั้น สํวนเกษตรกร
                       ที่เก็บผลผลิตไว๎ขายจะมีประมาณ 23.26% สํวนอีก 24.17% เก็บข๎าวไว๎เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. ซึ่ง
                       เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายหรือเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํจะเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าว
                       หอมมะลิมากกวํา 30 ไรํขึ้นไป ในขณะที่เกษตรกรรายเล็ก 75.45% จะเก็บข๎าวไว๎บริโภคในครัวเรือนและเก็บไว๎เป็น
                       เมล็ดพันธุ์ เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานสํวนใหญํขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวเนื่องจากจ าเป็นต๎องน าเงินมาลงทุนใน
                       การปลูกข๎าวในฤดูนาปรังและบางสํวนต๎องเตรียมพื้นที่ส าหรับปลูกข๎าวนาปรังจึงขาดแคลนแรงงานในการตากข๎าว
                       ในขณะที่พื้นที่นาน้ าฝนมีสัดสํวนของเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําในพื้นที่ชลประทาน นอกจากนี้ภูมิภาค
                       อีสานใต๎มีเกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎รอราคาและเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางมากที่สุดเทํากับร๎อยละ 16.96
                       และ 45.61 ตามล าดับ ในขณะที่เกษตรกรในเขตพื้นที่อีสานเหนือ เก็บข๎าวไว๎รอราคาน๎อยที่สุดและไมํมีเกษตรกรที่
                       เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางเลย
                                การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎ง
                       ฉางของเกษตรกรเป็นการหาความสัมพันธ์ของปัจจัยด๎านกายภาพของเกษตรกรและฟาร์ม ปัจจัยด๎ายเศรษฐกิจ และ
                       ปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร กับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกร โดยใช๎วิธีการ
                       วิเคราะห์โดยแบบจ าลอง binomial logistic regression ผลการศึกษามีดังนี้







                                                                                                       118
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151