Page 150 -
P. 150
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ข้อเสนอแนะด้านการจัดการอุปทานข้าวและโครงการจ าน ายุ้งฉาง
1) โครงการจ าน ายุ๎งฉางที่ผํานมามีเกษตรกรเข๎ารํวมน๎อยและสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายใหญํ แตํการ
ด าเนินโครงการของรัฐจะต๎องตํอเนื่องในระยะยาว และค านวณผลประโยชน์อยํางชัดเจน กรณีที่เกษตรกรตัดสินใจ
เข๎ารํวมโครงการจะได๎ผลประโยชน์มากกวําไมํเข๎ารํวมโครงการเทําไร มีความเสี่ยงมากน๎อยแคํไหน เพราะเกษตรกร
จะต๎องลงทุนสร๎างยุ๎งฉางในการเก็บข๎าวที่เป็นมาตรฐาน และการตากข๎าว ซึ่งเงินลงทุนนี้กวําจะคืนทุนก็ต๎องใช๎เวลา
หลายปี ถ๎านโยบายของรัฐไมํมีความแนํนอนจะไมํมีเกษตรกรกล๎าเสี่ยงลงทุน
2) การเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางถึงแม๎จะขายข๎าวได๎ในราคาที่สูงขึ้นแตํก็มีต๎นทุนและคําใช๎จํายตํางๆ
และเงื่อนไขที่ยุํงยาก รวมทั้งความเสี่ยงตํางๆ ซึ่งถ๎าราคาที่ได๎รับเพิ่มไมํสูงมากพอเกษตรกรก็อาจจะตัดสินใจไมํเข๎า
รํวมโครงการฯ ประเด็นเหลํานี้รัฐบาลจะต๎องค านึงถึงและให๎ความส าคัญ มิฉะนั้นจะเป็นโครงการที่ด าเนินไปโดยมี
เกษตรกรสํวนน๎อยเข๎ารํวมและได๎ประโยชน์น๎อยหรือไมํคุ๎ม
3) เกษตรกรที่ได๎รับประโยชน์จากโครงการจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายใหญํ สํวนเกษตรกรราย
ยํอยซึ่งเป็นเกษตรกรสํวนใหญํแทบจะไมํได๎รับประโยชน์จากโครงการฯ นี้เลย แตํจากผลการศึกษาระบุวําเกษตรกร
รายยํอยมีคุณภาพข๎าวหอมมะลิสูงกวําเกษตรกรรายใหญํและการผลิตข๎าวอินทรีย์ให๎ผลตอบแทนสูงกวําข๎าวหอมมะลิ
ทั่วไปเพราะขายข๎าวได๎ในราคาสูงกวํา ดังนั้นนโยบายชํวยเหลือเกษตรกรรายยํอยควรมุํงไปสูํการสํงเสริมการผลิตข๎าว
อินทรีย์เพื่อชํวยเหลือเกษตรกรกลุํมที่ไมํได๎รับประโยชน์จากโครงการจ าน ายุ๎งฉาง และเพิ่มผลผลิตข๎าวหอมมะลิ
คุณภาพของไทย
4) ปัจจัยด๎านแรงงานมีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ
เกษตรกร เนื่องจากในกระบวนการลดความชื้นและขนสํงข๎าวเพื่อจัดเก็บในยุ๎งฉางจ าเป็นต๎องใช๎แรงงานครัวเรือน
แรงงานจ๎างมีราคาแพงและหายาก ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเพื่อใช๎ในกระบวนการตากข๎าวเพื่อลด
ความชื้นส าหรับเกษตรกรรายยํอยที่เกษตรกรหรือกลุํมเกษตรกรสามารถเข๎าถึงได๎จะชํวยเพิ่มสัดสํวนการจัดเก็บข๎าว
ของเกษตรกรได๎มากขึ้น
5) การพัฒนายุ๎งฉางจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรมีความส าคัญและสัมพันธ์กับโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ฉะนั้นรัฐ
ควรมีนโยบายและมาตรการสํงเสริมและพัฒนายุ๎งฉางของเกษตรกรให๎สอดคล๎องกับโครงการจ าน ายุ๎งฉางถ๎าต๎อง
ด าเนินโครงการฯ นี้อีกในอนาคต นอกจากนั้นการพัฒนายุ๎งฉางของเกษตรกรต๎องให๎ความส าคัญกับชนิดของยุ๎งฉาง
เพื่อให๎สอดคล๎องกับเป้าหมายในการรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิมากที่สุด
6) การก าหนดรูปแบบการจัดเก็บข๎าวแบบเก็บกองแม๎จะมีประสิทธิภาพตํอการประเมินและตรวจสอบข๎าว
ที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง แตํในแงํของการรักษาคุณภาพข๎าวแล๎วการเก็บกองจะเหมาะสมเฉพาะกรณียุ๎งสังกะสี
แตํส าหรับยุ๎งไม๎หรือการเก็บในบ๎านแล๎วการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในกระสอบอาหารสัตว์เกําหรือกระสอบน้ าตาลเกํา
จะคงคุณภาพข๎าวด๎านความหอมและคุณภาพการสีได๎มากกวํา นอกจากนั้นการเก็บกองยังมีต๎นทุนสํวนเพิ่มในการ
จัดเก็บมากกวําการเก็บในกระสอบชนิดตํางๆ เพราะต๎องจ๎างแรงงานบรรจุข๎าวใสํกระสอบกํอนน าไปขาย ดังนั้นการ
ก าหนดรูปแบบการจัดเก็บข๎าวในโครงการฯ ควรจะค านึงถึงปัจจัยด๎านคุณภาพรํวมด๎วย
ข้อเสนอแนะด้านการจัดการคุณภาพข้าว
1) คุณภาพข๎าวหอมมะลิอินทรีย์โดยเฉพาะคุณภาพด๎านความหอมและเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงกวําข๎าวหอม
มะลิทั่วไป ดังนั้นการผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ควรเป็นเป้าหมายในการรักษาตลาดข๎าวคุณภาพ และผลตอบแทน
จากการปลูกข๎าวหอมมะลิอินทรีย์สูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไปเพราะได๎รับราคาที่สูงกวําดังนั้นจึงเป็นทางเลือกที่
เหมาะสมส าหรับเกษตรกรรายยํอยที่ต๎องการเพิ่มรายได๎ครัวเรือน
2) แม๎วําเกษตรกรรายใหญํจะเข๎าถึงเทคโนโลยีและเครื่องจักรในการผลิตข๎าวที่ทันสมัยมากกวําเกษตรกร
รายยํอย แตํผลผลิตข๎าวหอมมะลิจากแปลงของเกษตรกรรายใหญํมีคุณภาพต่ ากวําเกษตรกรรายยํอย แสดงให๎เห็นวํา
การพัฒนาเครื่องจักรส าหรับทดแทนแรงงานคนในการผลิตข๎าวต๎องค านึงถึงปัจจัยด๎านคุณภาพด๎วยเชํนกัน
3) สภาพการรั่วซึมของยุ๎งฉางมีผลตํอคุณภาพข๎าวหอมมะลิโดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ
ดังนั้นการตรวจสอบการรั่วซึมของยุ๎งฉางและซํอมแซมกํอนจัดเก็บข๎าวหอมมะลิจึงเป็นสิ่งจ าเป็นเพื่อรักษาคุณภาพ
4) คุณภาพข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางที่มีการบังแดดหรือได๎รับรํมเงาจากบ๎านหรือต๎นไม๎ใหญํ มีแนวโน๎มที่
คุณภาพข๎าวโดยเฉพาะเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํต่ ากวํายุ๎งฉางที่ได๎รับแสงแดดทั้งวัน ดังนั้นการเพิ่มรํมเงาให๎กับยุ๎งฉางเป็น
แนวทางในการรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่มีประสิทธิภาพ
122