Page 148 -
P. 148

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       นําจะเป็นในการเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวํา เนื่องจากเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ต๎องมียุ๎งฉางที่มั่นคงแข็งแรง
                       สามารถจัดเก็บข๎าวได๎ตลอดระยะเวลาการเข๎ารํวมโครงการฯ ส าหรับปัจจัยด๎านภูมิภาคพบวําเกษตรกรในเขตอีสาน
                       ใต๎มีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวําเกษตรกรในพื้นที่อื่นๆ และเกษตรกรที่มีพื้นที่
                       เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิขนาดใหญํ (พื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30 ไรํ) และขนาดกลาง (พื้นที่เพาะปลูก
                       ข๎าวหอมมะลิมากกวํา 10-30 ไรํ) มีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวําเกษตรกรรายเล็ก
                       และเกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไปในพื้นที่นาน้ าฝนมีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ
                       มากกวําเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานและเกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ด๎วยเชํนกัน เนื่องจากเกษตรกรที่ปลูกข๎าว
                       อินทรีย์สํวนใหญํมีตลาดรองรับผลผลิตและขายผลผลิตได๎ราคาสูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไปจึงไมํมีแรงจูงใจในการน า
                       ข๎าวหอมมะลิเข๎ารํวมโครงการฯ
                              3) ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพข้าว

                                3.1 รูปแบบการจัดเก็บข๎าวตํอคุณภาพข๎าว: ผลการวิจัยจากการสุํมตัวอยํางข๎าวของเกษตรกร
                                    รูปแบบการจัดเก็บที่เกี่ยวข๎องกับคุณภาพข๎าวแบํงออกเป็น 2 กลุํม คือ 1) ปัจจัยทางด๎านกายภาพ
                       ได๎แกํ ขนาดและความสูงของยุ๎งฉาง ลักษณะของยุ๎งฉาง (ความสูงจากพื้น ชนิดของวัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉาง การขังของน้ า
                       ใต๎ยุ๎ง ชนิดของวัสดุหลังคา ชนิดของวัสดุข๎างยุ๎ง ชนิดของวัสดุท าพื้นยุ๎ง ต าแหนํงที่ตั้งและการบังแสงแดด 2) ปัจจัย
                       ด๎านการจัดการของเกษตรกร ได๎แกํ รูปแบบการเก็บข๎าว รูปแบบการจัดเรียงกระสอบ ความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉาง ใช๎
                       วิธีการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกตํางของคําเฉลี่ยแตํละกลุํมโดยใช๎การวิเคราะห์คําความแปรปรวน (Analysis
                       of Variance: ANOVA) และสถิติที (t-test) นอกจากนั้นคุณภาพข๎าวจากการสุํมตัวอยํางข๎าวทั้งสองครั้งได๎ใช๎เป็นตัว
                       แปรอิสระส าหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการจัดเก็บตํอคุณภาพข๎าว ซึ่งคุณภาพข๎าวที่ใช๎เป็นตัวแปรตาม
                       (independent  variable)  ในการศึกษาครั้งนี้มี 4 ตัวแปร ได๎แกํ ความหอมของข๎าว (วัดจากปริมาณสาร 2AP)
                       เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว ความชื้น และเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ วิเคราะห์โดยใช๎สมการถดถอดแบบโทบิท (Tobit  regression
                       analysis)

                                    ผลการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวหอมมะลิตามสภาพแวดล๎อมการผลิต พบวํา เกษตรกรที่ปลูกข๎าว
                       อินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝนมีแนวโน๎มที่ผลผลิตข๎าวที่จัดเก็บมีคุณภาพดีที่สุด คือมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงที่สุดประมาณ
                       71.67% และมีเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักน๎อยที่สุดเฉลี่ยเพียง 26.11% สอดคล๎องกับผลการวิจัยเชิงทดลอง ในขณะที่
                       เกษตรกรรายใหญํมีคุณภาพข๎าวต่ ากวําเกษตรกรรายเล็ก โดยความชื้นเฉลี่ยของข๎าวหอมมะลิลดลงประมาณ 0.88%
                       จากความชื้นเฉลี่ยครั้งที่ 1 ประมาณ 13.59% เหลือประมาณ 12.71% ซึ่งเกษตรกรในทุกๆ พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลง
                       ความชื้นของข๎าวไมํแตกตํางกันมากนัก ส าหรับคุณภาพข๎าวด๎านความหอม ผลการวิเคราะห์ปริมาณ 2AP ของข๎าว
                       พบวําปริมาณ 2AP ของข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝนมีแนวโน๎มสูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไปและข๎าวหอมมะลิ
                       ในพื้นที่ชลประทาน อยํางไรก็ตามภายหลังจัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉาง การวัดปริมาณ 2AP ของข๎าวตามสภาพแวดล๎อมการ
                       ผลิตพบวําปริมาณ 2AP ข๎าวหอมมะลิในแตํละพื้นที่ไมํแตกตํางกัน
                                    ผลการวิเคราะห์ความแตกตํางของคุณภาพข๎าวตามสภาพกายภาพยุ๎งฉาง พบวําความถี่ของการ
                       ใช๎ยุ๎งฉางไมํมีผลตํอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าว ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงความชื้นข๎าวหอมมะลิแตกตํางกันตาม
                       ลักษณะการรั่วซึมของยุ๎งฉาง โดยยุ๎งฉางที่มีการรั่วซึมมากมีแนวโน๎มที่จะท าให๎ความชื้นของข๎าวเปลือกหอมมะลิที่
                       จัดเก็บมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยุ๎งฉางที่รั่วซึมเล็กน๎อยมีเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํเพิ่มขึ้นมากที่สุด และการ
                       เปลี่ยนแปลงความหอมของข๎าวหอมมะลิยังแตกตํางกันตามลักษณะการรั่วซึมของยุ๎งฉางและการบังแดดเชํนกัน
                       ในขณะที่การเปลี่ยนคุณภาพข๎าวหอมมะลิไมํแตกตํางกันตามความสูงของยุ๎งฉาง แตํแตกตํางตามวัสดุใต๎ฐานและการ
                       ยกพื้นยุ๎งฉางคือ ข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บในยุ๎งฉางที่มีวัสดุใต๎ฐานเป็นพื้นดินมีความชื้นหลังการจัดเก็บลดลงมากกวํา
                       วัสดุใต๎ฐานที่เป็นพื้นปูน พื้นหินหรือสถานที่เก็บข๎าวที่ไมํได๎ยกพื้น เมื่อพิจารณาคุณภาพข๎าวตามรูปแบบการจัดเก็บ
                       พบวํา ความชื้นของข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บโดยรองพื้นยุ๎งฉางมีแนวโน๎มที่ความชื้นลดลงมากกวําการจัดเก็บที่ไมํ
                       รองพื้น และเกษตรกรที่เก็บข๎าวแบบเก็บกองและเก็บใสํกระสอบป่านมีแนวโน๎มที่ความชื้นข๎าวจะลดลงมากกวําการ
                       จัดเก็บข๎าวโดยการใสํกระสอบปุ๋ย กระสอบอาหารสัตว์หรือกระสอบน้ าตาล ในขณะที่การจัดเก็บข๎าวโดยใช๎กระสอบ
                       ป่านมีเปอร์เซ็นต์การเพิ่มขึ้นของข๎าวหักต่ าที่สุด ท๎องไขํเพิ่มขึ้นน๎อย และสาร 2AP ลดลงน๎อยกวําการจัดเก็บด๎วยวิธี
                       อื่น นอกจากนั้นคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บในบ๎านและในยุ๎งฉางไมํแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ






                                                                                                       120
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153