Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                    นับตั้งแต่ปี  พ.ศ.  2509  เป็นต้นมา  คณะรัฐมนตรีได้ลงมติก�าหนดให้วันพระราชพิธีพืชมงคล
            จรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้เป็นวันเกษตรกรประจ�าปีด้วย  ทั้งนี้เพื่อให้ผู้มีอาชีพทางการเกษตรระลึกถึง

            ความส�าคัญของอาชีพนี้  และร่วมมือกันประกอบพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเพื่อเป็น
            สิริมงคลแก่อาชีพของตน  และก่อให้เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศชาติ  (กระทรวงเกษตรและ
            สหกรณ์. 2557)



                                                                                 ตอนที่ 2

                                             ระบบนิเวศข้าวในประเทศไทย






            1. ค�าน�า
                    พื้นที่ปลูกข้าวมีหลายแบบ  ได้แก่  พื้นที่ลุ่ม  (lowland)  พื้นที่ดอน  (upland)  พื้นที่แห้ง

            (dryland) หรือ พื้นที่ชุ่มน�้า (wetland) สถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (IRRI,1984) จ�าแนกข้าวออก
            เป็น 5 กลุ่ม ตามลักษณะของระบอบน�้าที่ผันแปรตามฤดูกาล (ขาดน�้า น�้ามาก หรือน�้าพอดี) การระบายน�้า
            (เลวหรือดี) อุณหภูมิของอากาศ (พอเหมาะหรือต�่า) ดิน (ปรกติหรือมีปัญหา) และ ภูมิประเทศ (ราบหรือ

            เป็นลอนคลื่น) จึงมีข้าว 5 แบบ คือ (1) ข้าวในที่ลุ่มและมีการชลประทาน (2) ข้าวในที่ลุ่มอาศัยน�้าฝน
            (3) ข้าวในที่ลุ่มน�้าลึก (ข้าวขึ้นน�้า) (4) ข้าวไร่ และ (5) ข้าวในพื้นที่ชุ่มน�้าชายฝั่งซึ่งมีน�้าขึ้นน�้าลง ข้าวที่

            คุ้นเคยในประเทศไทย ได้แก่ ข้าวนาน�้าขัง (lowland or flooded rice) ข้าวไร่ (upland rice) และ
            ข้าวขึ้นน�้า (deep water or floating rice)
                    ในหลักการพื้นฐานของการผลิตพืช  (crop  production)  มีองค์ประกอบหลักที่ส�าคัญในการ

            ให้ผลผลิต (Yield, Y) และคุณภาพ (Quality, Q) คือ พันธุกรรมพืช (Genetics, G) สภาพแวดล้อมของพื้นที่
            (Environments, E) และการจัดการ (Managements, M) หรือที่รู้จักกันในสมการ GxExM=Y+Q

                    ระบบนิเวศข้าว (rice ecosystem) เป็นส่วนส�าคัญในองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อม ซึ่งบ่งบอก
            ถึงระดับความมั่นคงของการผลิต  พัฒนาการปรับตัวของพันธุกรรมข้าวและวิธีการจัดการที่มีความจ�าเพาะ
            แตกต่างกันไปในแต่ละระบบนิเวศ

                    ระบบนิเวศข้าวในประเทศไทยมี 3 แบบ คือ (1) นิเวศข้าวไร่ (2) นิเวศข้าวนาสวน และ (3)
            นิเวศข้าวน�้าลึกและข้าวขึ้นน�้า โดยยกแต่ละข้อมาอธิบายเป็นข้อใหญ่ คือ ข้อ 2-4 ดังนี้



            2. นิเวศข้าวไร่ (upland rice ecosystem)
                    พัฒนาการในการสร้างความมั่นคงของการผลิต (production security) เริ่มจากการปลูกข้าว

            ในนิเวศข้าวไร่หรือสภาพไร่  (upland  rice  cultivation)  ซึ่งใช้ประโยชน์ด้านสภาพแวดล้อม  (E)  จาก



                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว              ประวติการปลูกข้าว และข้าวกับสภาพแวดล้อม ั  41
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50