Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                     4) กรมนา มีขุนนาเป็นหัวหน้า ท�าหน้าที่ตรวจการท�าไร่นา ออกกรรมสิทธิ์ที่นา เก็บภาษีเป็น
            ผลผลิตจากเกษตรกร และเก็บส่วนแบ่งข้าวมาไว้ในฉางหลวง

                     การปฏิรูประบบการบริหารราชการเริ่มในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (ครองราชสมบัติ
            พ.ศ. 1991-2031) และเปลี่ยนชื่อกรมนาเป็น “กรมเกษตราธิบดี” มีพระยาพลเทพราชเสนาบดีเป็นเสนาบดี
            ท�าหน้าที่ตรวจตราและส่งเสริมการท�านา ดูแลคุ้มกันไม่ให้ผู้ร้ายปล้นโคกระบือซึ่งเป็นสัตว์ช่วยแทนแรงใน

            การท�านา เก็บข้าวไว้เป็นเสบียงยามสงคราม ตัดสินคดีความเกี่ยวกับที่นา ออกกรรมสิทธิ์ที่นาแก่ราษฎร
                     กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแม่น�้าส�าคัญ  3  สาย  คือ  แม่น�้าเจ้าพระยา  แม่น�้าป่าสักและ

            แม่น�้าลพบุรี  พระมหากษัตริย์ทรงวางผังเมือง  แบ่งพื้นที่ใช้ประโยชน์อย่างเป็นระเบียบ  เป็นพื้นที่เมือง
            และพื้นที่เกษตรกรรม  และส่งเสริมอาชีพการท�านาของราษฏร  อนุญาตให้ราษฎรเข้าหักร้างถางพงและ
            ยกคันนาเพื่อปลูกข้าว  พระราชทานโฉนดให้เป็นครั้งคราว  คือ  โฉนดตราแดงส�าหรับนาคู่โคและโฉนด

            ตราจองส�าหรับนาฟางลอย (ข้อ 6) ในสมัยอยุธยา พระมหากษัติย์ทรงท�านุบ�ารุงขวัญกับผู้ประกอบอาชีพ
            เกษตรกรรมคล้ายกับสมัยสุโขทัย (ข้อ 4.1)

                 4.3 ข้าวสมัยรัตนโกสินทร์
                     ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 เป็นต้นมา การปลูกข้าวเป็นอาชีพส�าคัญของคนไทยที่ได้รับการส่งเสริมอย่างดี
            มีเรื่องราวที่ส�าคัญเกี่ยวกับข้าวหลายประการดังจะได้กล่าวต่อไป

                     รัชกาลที่  1  และ  รัชกาลที่  2  รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
            ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์เป็นต้นมา  มีการขุดคลองหลายแห่ง  คลองส�าคัญที่โปรดให้ขุด  คือ

            คลองมหานาค  เพื่อให้ราษฏรประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ในสมัยรัชกาลที่  2  มีการส่งสินค้าออกไปขาย
            ต่างประเทศ  10  ชนิด  แต่ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์จึงห้ามส่งออกข้าวเปลือกและข้าวสารโดยเด็ดขาด
            ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  3  (ประมาณปี  พ.ศ.  2369)  ได้มีการผ่อนปรน

            เรื่องการส่งออกข้าว ดังนั้นข้าวที่เหลือจากการบริโภคในประเทศ จึงมีพ่อค้าจากต่างประเทศเข้ามารับซื้อ
            ท�าให้ข้าวมีความส�าคัญในด้านเศรษฐกิจของประเทศ

                     รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดคลองแสนแสบ เมื่อ พ.ศ. 2380
            เพื่อเชื่อมแม่น�้าเจ้าพระยากับแม่น�้าบางปะกงยาว  90  กิโลเมตร  ผ่านบริเวณที่ราบที่เหมาะส�าหรับการ
            ปลูกข้าว

                     รัชกาลที่  4  ใน  พ.ศ.  2409  พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  4  ทรงพระ
            กรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้ขุดคลองเชื่อมระหว่างแม่น�้าท่าจีนและแม่น�้าแม่กลอง  พระราชทานนามว่าคลอง

            ด�าเนินสะดวก เป็นทางคมนาคมระหว่างกรุงเทพฯ สมุทรสงคราม และราชบุรี รวมทั้งเป็นประโยชน์ด้าน
            เกษตรกรรม ได้ท�าพิธีเปิดใช้คลองนี้วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 ต่อมามีการขุดคลองซอยแยกเข้าสู่
            พื้นที่ส่วนต่างๆ  ดังนั้น  พื้นที่ซึ่งเคยรกร้างจึงกลายเป็นเรือกสวนไร่นา  ความยาวของคลองด�าเนินสะดวก

            นับเริ่มตั้งแต่แม่น�้าท่าจีนยาว  895  เส้น  (35.8  กิโลเมตร)  ตลอดความยาวของคลองมีเสาหินสี่เหลี่ยม




                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว              ประวติการปลูกข้าว และข้าวกับสภาพแวดล้อม ั  35
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44