Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2.3.2 กระบวนก�รผลิตทุติยภูมิในดิน
กระบวนก�รผลิตทุติยภูมิ คือ กระบวนก�รผลิตเซลล์หรือเนื้อเยื่อใหม่ของสิ่งมีชีวิต
ประเภทที่ได้อ�ห�รจ�กส�รอินทรีย์หรือเฮเทอโรโทรป (heterotrophs) โดยใช้อ�ห�รจ�กผู้ผลิตปฐมภูมิ
ซึ่งได้แก่พืชนั่นเอง ในกรณีที่แหล่งอ�ห�รยังมีชีวิตอยู่ เรียกคว�มสัมพันธ์นี้ว่�โซ่อ�ห�รแบบจับกิน
(grazing food chain) แต่ถ้�พืชต�ยกล�ยเป็นเศษซ�กอินทรีย์ เรียกคว�มสัมพันธ์นี้ว่�โซ่อ�ห�รแบบ
กินซ�ก (detrital food chain)
อ�ห�รอันเป็นส�รอินทรีย์นั้นม�จ�กผลผลิตปฐมภูมิของระบบนิเวศดิน ก�รเปลี่ยนแปลง
ระดับนี้เรียกว่� system-level catabolism (catabolism ม�จ�ก cata bolos ซึ่งมีคว�มหม�ยว่�
“breaking-down activity” หรือกิจกรรมก�รสล�ยตัว) กระบวนก�รนี้เกี่ยวข้องกับก�รบริโภคและย่อย
สล�ยส�รอ�ห�รซึ่งมีในผลผลิตปฐมภูมิ ของผู้บริโภค (สัตว์) และผู้ย่อยสล�ย (จุลินทรีย์) ดังนี้
1) กระบวนก�รที่เกี่ยวข้องกับจุลินทรีย์ สำ�หรับจุลินทรีย์ที่มีม�กและมีบทบ�ทสำ�คัญ คือ
แบคทีเรียและเชื้อร�ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้�งอ�ห�รเองไม่ได้ แต่จุลินทรีย์เหล่�นี้เป็นผู้ย่อยสล�ยส�รอินทรีย์
โดยดำ�รงชีวิตด้วยก�รหลั่งเอนไซม์ออกม�ย่อยสล�ยซ�กพืชซ�กสัตว์กล�ยเป็นส�รอินทรีย์โมเลกุลเล็กๆ
แล้วดูดซึมเข้�สู่เซลล์เพื่อใช้ประโยชน์ แบคทีเรียและเชื้อร�จึงได้ส�รประกอบค�ร์บอนต่�งๆ ไปเป็นอ�ห�ร
และมีก�รเจริญเติบโตและเพิ่มประช�กรได้ม�ก ถือเป็นก�รผลิตทุติยภูมิ
ห�กไม่มีผู้ย่อยสล�ยส�รอินทรีย์ ซ�กพืชซ�กสัตว์จะไม่เน่�เปื่อยและกองทับถมกันจน
ล้นโลก ผู้ย่อยสล�ยส�รอินทรียจึงเป็นตัวกล�ง ทำ�หน้�ที่เชื่อมโยงก�รหมุนเวียนส�รในระบบนิเวศและ
ได้รับก�รถ่�ยทอดพลังง�นเป็นลำ�ดับสุดท้�ย
ส�รอินทรีย์ที่ถูกจุลินทรีย์ย่อยสล�ย เป็นส�รอินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับค�ท�โบลิซึม ซึ่งมีอยู่
หล�ยพันชนิด แต่แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ส�รประกอบปฐมภูมิ (primary compounds) ได้ม�จ�กเนื้อเยื่อพืช จุลินทรีย์
หรือสัตว์โดยตรง เช่น กรดอินทรีย์ กรดอะมิโนและนำ้�ต�ล ซึ่งจุลินทรีย์ใช้เป็นแหล่งค�ร์บอนและแหล่ง
พลังง�น
กลุ่มที่ 2 ส�รประกอบทุติยภูมิ (secondary compounds) ได้แก่ ส�รที่จะใช้ในก�ร
สังเคร�ะห์ส�รอื่นที่มีคว�มซับซ้อนต่อไปอีก จ�กอันตรกิริย�ระหว่�งอินทรียวัตถุ-แร่ธ�ตุ (organic matter
-mineral) ก่อให้เกิดก�รเปลี่ยนแปลงท�งเคมีม�กบ้�ง น้อยบ้�ง หรือเกิดก�รเปลี่ยนแปลงโครงสร้�งของ
ส�รในส่วนที่เป็นวงแหวน ส�รในกลุ่มนี้ได้แก่ ลิกนิน เซลลูโลส คิวติน และไข
ดังนั้นเมื่อกล่�วถึงมวลชีวภ�พของจุลินทรีย์ (microbial mass) ในดิน จึงมักจะหม�ยถึง
มวลของจุลินทรีย์ของแบคทีเรียและร� สำ�หรับมวลชีวภ�พของจุลินทรีย์ในดินชั้นไถพรวน (ลึก 15 ซม.)
จะมีเพียง 200-400 กรัม/ต�ร�งเมตร จัดว่�น้อยม�กเมื่อเทียบกับปริม�ณอินทรียวัตถุในดิน แต่จุลินทรีย์
ก็ส�ม�รถทำ�หน้�ที่ย่อยสล�ยส�รอินทรีย์ได้เร็ว มีอัตร�ก�รเปลี่ยนแปลง (turnover rate) สูง จึงใช้เวล�
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 25