Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            2.1 องค์ประกอบหรือโครงสร้�งของระบบนิเวศดิน
                     องค์ประกอบหรือโครงสร้�งของระบบนิเวศดิน มี 2 ส่วน คือ 1) องค์ประกอบอชีวนะ ได้แก่

            อนุภ�คดินที่ม�จ�กก�รสล�ยตัวและผุพังของหินและแร่  (ทร�ย  ทร�ยแป้ง  และดินเหนียว)  นำ้�  อ�ก�ศ
            และอินทรียวัตถุ และ 2) องค์ประกอบชีวนะ ได้แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ (ภ�พที่ 1.4)
                 2.2 กระบวนก�ร (processes) และอันตรกิริย� (interactions)

                     กระบวนก�รและอันตรกิริย�ระหว่�งองค์ประกอบของระบบนิเวศดินมีดังนี้
                     1) กระบวนก�รของร�กพืช  เมื่อร�กได้รับนำ้�ต�ลจ�กส่วนเหนือดินและเจริญเติบโตโดยปล�ย

            ร�กยืดตัวแทงเข้�ไปในช่องว่�งระหว่�งอนุภ�ค  และเบียดอัดอนุภ�คดินออกไปด้�นข้�ง  ร�กพืชที่แทรก
            เข้�ไปในซอกหินแล้วขย�ยขน�ด  อ�จมีแรงม�กพอที่จะทำ�ให้หินแยกออกจ�กกัน  ร�กที่กระจ�ยไปในดิน
            ตั้งแต่ระดับผิวดินจนถึงชั้นดินลึกๆ  ดูดนำ้�และธ�ตุอ�ห�รต่�งๆ  ก�รห�ยใจของร�กใช้ออกซิเจนและปลด

            ปล่อยค�ร์บอนไดออกไซด์ออกม�  ดังนั้นกิจกรรมของร�กจึงมีผลกระทบต่อองค์ประกอบของก๊�ซในดิน
            นอกจ�กนี้ก�รขับของเหลวหรือเอ็กซูเดต  (exudate)  จ�กร�ก  ยังมีผลกระทบต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์

            ที่อ�ศัยในดินรอบๆ ผิวร�กหรือไรโซสเฟียร์ (rhizosphere) อย่�งม�ก  คว�มหม�ยของไรโซสเฟียร์และ
            เอ็กซูเดตจ�กร�ก กับผลของเอ็กซูเดตต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินในไรโซสเฟียร์มีร�ยละเอียดในข้อ 3
                     2) กระบวนก�รของสัตว์ในดิน  เนื่องจ�กสัตว์ในดินมีหล�ยชนิดและหล�ยขน�ด  ซึ่งกิจกรรม

            และกระบวนก�รของสัตว์เหล่�นั้นต่�งก็มีบทบ�ทสำ�คัญในระบบนิเวศดินทั้งสิ้น เช่น มดและปลวกกัดกิน
            วัสดุอินทรีย์ให้มีขน�ดเล็กลง  ก�รเพิ่มพื้นที่ผิวจำ�เพ�ะ  [พื้นที่ผิว  (ต�ร�งเมตร)  /  มวล  (กรัม)]  ของวัสดุ

            อินทรีย์จ�กก�รกัดกินของสัตว์ต่�งๆ ช่วยให้จุลินทรีย์ย่อยสล�ยได้ง่�ยขึ้น ไส้เดือนดินกินส�รอินทรีย์พร้อม
            ทั้งกลืนอนุภ�คดินเข้�ไปด้วย  สิ่งขับถ่�ยของไส้เดือนดินเป็นประโยชน์ต่อก�รเจริญเติบโตของพืช  ก�รไช
            ชอนของไส้เดือนดินและสัตว์ต่�งๆ ทำ�ให้มีช่องขน�ดใหญ่ จึงส่งเสริมก�รระบ�ยนำ้�และถ่�ยเทอ�ก�ศ

                     3) กระบวนก�รของจุลินทรีย์ดิน  ที่สำ�คัญคือก�รย่อยสล�ยส�รอินทรีย์ต่�งๆ  รวมทั้งทำ�หน้�ที่
            ขับเคลื่อนวงจรธ�ตุอ�ห�รหล�ยประก�ร  เช่น  (1)  ก�รตรึงไนโตรเจน  (2)  ก�รแปรสภ�พส�รประกอบ

            กำ�มะถัน และ (3) ก�รแปรสภ�พส�รประกอบฟอสฟอรัส และธ�ตุอื่นๆ
                     4) คว�มสัมพันธ์ระหว่�งพืชกับองค์ประกอบอื่นๆ  ในระบบนิเวศดิน  คว�มสัมพันธ์ระหว่�งกัน
            ได้แก่ (1) พืชเป็นอ�ห�รของสิ่งมีชีวิตกินพืช (2) ร�กพืชจะใช้ธ�ตุอ�ห�รและนำ้�จ�กดิน แล้วขับส�รอินทรีย์

            ซึ่งเรียกว่�ของเหลวขับจ�กร�กพืชหรือเอ็กซูเดตของร�กออกม�เป็นอ�ห�รของจุลินทรีย์ และ (3) ระบบ
            ร�กยังทำ�หน้�ที่เป็นตัวให้อ�ศัยของร�  แบคทีเรีย  ไส้เดือนฝอย  และแมลง  แบคทีเรียบ�งพวกอยู่ร่วมกับ

            ร�กพืชและช่วยส่งเสริมก�รเจริญเติบของพืช (plant growth promoting rhizobacteria, PGPR) ด้วย
                     สำ�หรับสัตว์ (เช่น ไส้เดือนดิน) จุลินทรีย์ดิน (เช่น เชื้อร� แบคทีเรีย และแอกทิโนไมซิส) ในฐ�นะ
            ผู้ย่อยสล�ยนั้น  ทำ�ให้เกิดอันตรกิริย�ที่เรียกว่�อันตรกิริย�ลำ�ดับแรก  (first-order  interaction)  ส่วน

            ในอันตรกิริย�ลำ�ดับที่สอง  (second-order  interaction)  เกิดเมื่อสิ่งมีชีวิตอีกพวกหนึ่งม�กินสิ่งมีชีวิต




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      21
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30