Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                   2) ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�ร ได้แก่ปร�กฏก�รณ์ที่เกิดขึ้นในวัฏจักรของธ�ตุต่�งๆ เช่น วัฏจักร
          ไนโตรเจน (nitrogen cycle) และวัฏจักรกำ�มะถัน (sulfur cycle) ซึ่งมีสิ่งมีชีวิตของระบบนิเวศเข้�ม�

          เกี่ยวข้องหล�ยชนิด ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�รในดินมีคว�มสำ�คัญด้�นคว�มอุดมสมบูรณ์ของดิน


          5. ประเภทของระบบนิเวศ

                   ก�รจำ�แนกส�ข�ของนิเวศวิทย�  (ecology)  มีหล�ยแนวท�ง  แต่เดิมมีก�รจำ�แนกเป็น  2
          แบบ ได้แก่ 1) autecology คือ นิเวศวิทย�ที่ศึกษ�สิ่งมีชีวิตชนิดเดียว (individual species) และ 2)

          synecology  คือ  นิเวศวิทย�ที่ศึกษ�ชุมชีพ  (communities)  ต่อม�ได้ยกเลิกก�รจำ�แนกแบบเก่�
          แล้วจำ�แนกเป็น  4  แบบ  ดังนี้    1)  นิเวศวิทย�เชิงชนิด  (species  ecology),  2)  นิเวศวิทย�ประช�กร
          (population ecology), 3) นิเวศวิทย�ชุมชีพ (community ecology) และ 4) นิเวศวิทย�ของระบบ

          นิเวศ (ecosystem ecology)
                   ปัจจุบันมีก�รจำ�แนกนิเวศวิทย�หล�ยแนวท�ง เช่น จำ�แนกต�มชนิดถิ่นที่อยู่ พืชพรรณ ส�ข�ที่

          ฝึกฝน และชนิดของสิ่งมีชีวิตเป็นก�รเฉพ�ะดังนี้ (Chapman and Meiss, 1999; Smith et al., 2012)
                   1) จำ�แนกต�มชนิดถิ่นที่อยู่  ได้เป็น  2  แบบ  คือ  นิเวศวิทย�บนบก  (บนดิน)  (terrestrial
          ecology)  และ  นิเวศวิทย�นำ้�หรือชลนิเวศวิทย�  (aquatic  ecology)  ซึ่งนิเวศวิทย�นำ้�ยังแบ่งเป็น

          นิเวศวิทย�นำ้�จืด  (fresh  water  ecology),  นิเวศวิทย�นำ้�เค็ม  (marine  ecology)  และนิเวศวิทย�
          นำ้�กร่อย (estuarine ecology)

                   2) จำ�แนกต�มพืชพรรณ  (vegetation)  ได้เป็นหล�ยแบบ  เช่น  นิเวศวิทย�ป่�ไม้  (forest
          ecology), นิเวศวิทย�ทุ่งหญ้� (grassland ecology) และนิเวศวิทย�ภูเข� (alpine ecology)
                   3) จำ�แนกต�มส�ข�ที่ฝึกฝน  (discipline)  ได้เป็นหล�ยแบบ  เช่น  นิเวศวิทย�ดิน  (soil

          ecology), นิเวศวิทย�ท�งสรีรวิทย� (physiological ecology), นิเวศวิทย�สถิติ (statistical ecology),
          นิเวศวิทย�คณิตศ�สตร์ (mathematical ecology) และนิเวศวิทย�โมเลกุล (molecular ecology)

                   4) จำ�แนกต�มชนิดของสิ่งมีชีวิตเป็นก�รเฉพ�ะ  (specific  types  of  organisms)  ได้เป็น
          หล�ยแบบ เช่น นิเวศวิทย�ส�หร่�ย (algal ecology), นิเวศวิทย�จุลินทรีย์ (microbial ecology) และ
          นิเวศวิทย�สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammalian ecology)

                   ในที่นี้จะอธิบ�ยร�ยละเอียดเฉพ�ะระบบนิเวศบนบก  (terrestrial  ecosystem)  เพื่อเป็น
          พื้นฐ�นในก�รศึกษ�ระบบนิเวศเกษตร เนื่องจ�กระบบนิเวศเกษตรเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศบนบก



          6. ระบบนิเวศบนบก
                   คว�มหม�ยและภ�พรวมของระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศเกษตร เป็นดังนี้ (Cain et al.,

          2011; Coleman et al., 2004)




       16        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25