Page 21 -
P. 21
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
6.1 คว�มหม�ยของระบบนิเวศบนบก
ระบบนิเวศบนบก (terrestrial ecology) คือ ระบบนิเวศที่อยู่บนพื้นดิน คว�มแตกต่�งของ
ระบบนี้อยู่ที่ชนิดของพืช โดยปัจจัยด้�นภูมิอ�ก�ศ คือ ระดับอุณหภูมิและปริม�ณนำ้�ฝนมีอิทธิพลทำ�ให้
พืชพรรณในแต่ละระบบแตกต่�งกัน ระบบนิเวศบนบกธรรมช�ติมี 3 ประเภท คือ 1) ระบบนิเวศป่�ไม้
(forest ecosystem) 2) ระบบนิเวศทุ่งหญ้� (grassland ecosystem) และ 3) ระบบนิเวศทะเลทร�ย
(desert ecosystem)
ประม�ณ 10,000 ปีม�แล้ว มนุษย์เริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมจ�กก�รเร่ร่อนต�มล่�สัตว์ป่�และห�
ผลไม้ ใบ ดอก หรือหัวของพืชป่�ม�บริโภค ม�ตั้งถิ่นฐ�นเป็นหลักแหล่ง มนุษย์ก็เริ่มเปลี่ยนระบบนิเวศ
บนบกธรรมช�ติม�เป็นระบบนิเวศเกษตร (agricultural ecosystem หรือ agroecosystem) ซึ่งเป็น
ระบบที่มีคว�มสำ�คัญท�งเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
6.2 ภ�พรวมของระบบนิเวศบนบก
ระบบนิเวศบนบก (terrestrial ecosystem) ประกอบด้วยดิน นำ้� บรรย�ก�ศ พืชและสิ่งมีชีวิต
อื่นๆ สุขภ�พดิน (soil health) หรือคุณภ�พดิน (soil quality) ที่ดีมีคว�มสำ�คัญอย่�งยิ่งต่อคว�มคงอยู่
ของระบบนิเวศ หรือก�รฟื้นคืนกลับม�ดีดังเดิมห�กระบบนิเวศได้รับผลกระทบจ�กสภ�พต่�งๆ เช่น
คว�มแห้งแล้ง ภูมิอ�ก�ศเปลี่ยนแปลง ก�รเข้�ม�รบกวนของศัตรู และก�รแสวงห�ประโยชน์ของมนุษย์
ม�กเกินไป ซึ่งรวมทั้งก�รเกษตรด้วย จ�กหลักก�รสำ�คัญที่กล่�วว่�คุณภ�พดินขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ
ต่�งๆ ของดิน ซึ่งทำ�ให้ดินมีคว�มส�ม�รถในก�รทำ�หน้�ที่ต่�งๆ หน้�ที่เหล่�นั้น ได้แก่ ก�รคำ้�จุนให้พืช
เจริญเติบโต (เช่น ควบคุมคว�มเป็นประโยชน์ของนำ้�และธ�ตุอ�ห�ร) ภ�วะบัฟเฟอร์ด้�นสิ่งแวดล้อม (เช่น
ควบคุมก�รเคลื่อนย้�ยของธ�ตุต่�งๆ และควบคุมสิ่งปนเปื้อนในนำ้�และอ�ก�ศ) รวมทั้งก�รทำ�หน้�ที่เป็น
ที่รวมด้�นพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งจุลินทรีย์และเมล็ดพืชดังร�ยละเอียดในบทที่ 2
ดิน (soil) หรือ ปฐพีภ�ค (pedosphere) เป็นส่วนที่เกิดจ�กก�รตัดกันระหว่�ง ธรณีภ�ค
(lithosphere) อุทกภ�ค (hydrosphere) บรรย�ก�ศ (atmosphere) ชีวภ�ค (biosphere) และ
มนุษยภ�ค (noösphere) (ภ�พที่ 1.2) สำ�หรับคำ� “มนุษยภ�ค” นั้น มีผู้บัญญัติคำ�นี้เพื่อแยกบทบ�ทของ
มนุษย์จ�กชีวภ�คทั่วไป เพื่อให้ “มนุษยภ�ค” รวมเอ�อิทธิพลของกระบวนก�รต่�งๆ ที่มนุษย์ก่อให้เกิด
ขึ้นในโลก โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งระบบก�รเกษตร ส่วน “นิเวศภ�ค (ecosphere)” เป็นคำ�ที่บัญญัติขึ้นใหม่
เพื่อให้เห็นคว�มแตกต่�งจ�กชีวภ�ค (ส่วนที่เป็นสิ่งมีชีวิตทั้งหล�ย) เนื่องจ�ก”นิเวศภ�ค” รวมเอ�ชีวภ�ค
และอันตรกิริย� (interaction) ระหว่�งทุกภ�คเอ�ไว้ด้วย คือ ระหว่�งธรณีภ�ค อุทกภ�ค บรรย�ก�ศ
ชีวภ�ค และมนุษยภ�คนั่นเอง สำ�หรับระบบนิเวศนั้น ถือว่�ดินเป็นส่วนประกอบที่จำ�เป็นก็จริง แต่ถ้�
พิจ�รณ�ให้กว้�งขึ้นเป็นนิเวศภ�คแล้ว ต้องพิจ�รณ�ส่วนอื่นๆ นอกเหนือจ�กดินด้วย
ในทัศนมิติของระบบนิเวศ (ecosystem perspective) นั้น คุณภ�พดินเน้นใน 2 ส่วน คือ 1)
ดินและก�รทำ�หน้�ที่ของดินมีอิทธิพลต่อองค์ประกอบอื่นๆ ของระบบนิเวศและก�รทำ�หน้�ที่ของระบบ
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 17