Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            โดยทั่วไปในโซ่อ�ห�รหนึ่งๆ จะมีสิ่งมีชีวิตอยู่ไม่เกิน 6 ชนิด แต่ในหนึ่งส�ยใยอ�ห�รของระบบนิเวศหนึ่ง
            จะมีม�กกว่�นั้น ในบ�งกรณีสิ่งมีชีวิตในส�ยใยอ�ห�รอ�จมีม�กกว่� 1,000 ชนิด



            4. หน้�ที่ของระบบนิเวศ (ecosystem functions)
                     หน้�ที่ของระบบนิเวศที่สำ�คัญมี 2 อย่�ง คือ ก�รถ่�ยทอดหรือก�รไหลของพลังง�น (energy

            flow) และก�รหมุนเวียนของสส�รต่�งๆ รวมทั้งธ�ตุอ�ห�ร (nutrient cycling) ในระบบ (Miller, 2012;
            Molles, 2012)

                 4.1 ก�รถ่�ยทอดหรือก�รไหลของพลังง�น (energy flow) ในระบบนิเวศ
                     พลังง�น (energy) คือ คว�มส�ม�รถที่มีอยู่ในตัวของสิ่งที่อ�จให้แรงง�นได้ มีหล�ยรูปแบบ เช่น
            พลังง�นคว�มร้อน  (heat  energy)  พลังง�นแสง  (light  energy)  พลังง�นเคมี  (chemical  energy)

            พลังง�นศักย์  (potential  energy  -  พลังง�นที่มีในเทหวัตถุ  เนื่องจ�กก�รเคลื่อนที่ของเทหวัตถุนั้น)
            พลังง�นจลน์ (kinetic energy - พลังง�นที่มีในเทหวัตถุ เนื่องจ�กตำ�แหน่งที่อยู่ของเทหวัตถุนั้น) เป็นต้น

            ซึ่งพลังง�นแต่ละรูปส�ม�รถเปลี่ยนกลับไป-ม�ได้  ไม่อ�จสร้�งเพิ่มหรือทำ�ล�ยไป  ก�รถ่�ยทอดพลังง�น
            ของระบบนิเวศมี 2 ส่วน คือ ก�รรับและก�รใช้พลังง�น ดังนี้
                     1) ก�รรับพลังง�น  เริ่มที่กระบวนก�รสังเคร�ะห์แสง  โดยพืชซึ่งเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิรับพลังง�น

            แสงอ�ทิตย์ แล้วเปลี่ยนเป็นพลังง�นของก�รเคลื่อนย้�ยอิเล็กตรอน (electro motive energy) ที่คลอ
            โรพล�สต์ภ�ยในเซลล์ใบ  ในที่สุดก็เปลี่ยนเป็นพลังง�นเคมี  (chemical  energy)  ให้อยู่ในส�รประกอบ

            ค�ร์บอน เช่น ค�ร์โบไฮเดรตและไขมัน ต่อจ�กนั้นพลังง�นจ�กพืชจะถูกถ่�ยทอดไปยังผู้บริโภคและผู้ย่อย
            สล�ยต�มลำ�ดับ
                     2) ก�รใช้พลังง�นในระบบนิเวศ  เกิดขึ้นเมื่อผู้ผลิตหรือผู้บริโภคใช้ส�รอินทรีย์  (นำ้�ต�ล)  ใน

            กระบวนก�รห�ยใจ  เพื่อเปลี่ยนรูปของพลังง�นในส�รเคมีเดิมเป็นส�รอินทรีย์ชนิดใหม่ซึ่งมีพลังง�นสูง
            คือ  ATP  (adenosine  triphosphate)  แล้วใช้  ATP  เป็นแหล่งพลังง�นในกระบวนก�รสังเคร�ะห์ส�ร

            อินทรีย์ต่�งๆ  ที่จำ�เป็นต่อก�รดำ�รงชีวิต  ตลอดจนเป็นแหล่งพลังง�นของกิจกรรมที่สำ�คัญ  เช่น  ก�รเต้น
            ของหัวใจ ก�รสูบฉีดโลหิต ก�รดูดและก�รเคลื่อนย้�ยส�รอ�ห�ร กระบวนก�รเปลี่ยนแปลงของพลังง�น
            ดังกล่�ว ทำ�ให้พลังง�นส่วนหนึ่งเปลี่ยนเป็นคว�มร้อน ซึ่งสิ่งมีชีวิตใช้เพื่อทำ�ให้ร่�งก�ยอบอุ่น

                 4.2 ก�รหมุนเวียนสส�รในระบบนิเวศ
                     ก�รหมุนเวียนสส�รในระบบนิเวศมี 2 ส่วน คือ 1) ก�รหมุนเวียนสส�รไปพร้อมกับพลังง�น และ

            2) ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�ร
                     1) ก�รหมุนเวียนสส�รไปพร้อมกับพลังง�น  เช่น  ก�รกินอ�ห�รประเภทค�ร์โบไฮเดรตและ
            ไขมันของสัตว์  เพื่อเป็นทั้งแหล่งค�ร์บอนและแหล่งพลังง�น  ก�รย่อยสล�ยส�รอินทรีย์ของจุลินทรีย์

            หล�ยชนิด ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งในด้�นเป็นแหล่งค�ร์บอนและแหล่งพลังง�นเช่นเดียวกัน




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      15
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24