Page 18 -
P. 18
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
ผู้บริโภคได้เป็น 4 ประเภท คือ (1) ผู้บริโภคพืช (herbivore) เช่น กว�ง วัว คว�ย แพะ แกะ สุกร และปล�
ที่กินพืชเล็กๆ เรียกกลุ่มนี้ว่�ผู้บริโภคปฐมภูมิ (primary consumer) (2) ผู้บริโภคสัตว์ (carnivore) เช่น
สิงโต เสือ สุนัข กบ สุนัขจิ้งจอก เรียกกลุ่มนี้ว่�ผู้บริโภคทุติยภูมิ (secondary consumer) (3) ผู้บริโภคทั้ง
พืชและสัตว์ (omnivore) เช่น มนุษย์ เป็ดและไก่ เรียกกลุ่มนี้ว่�ผู้บริโภคตติยภูมิ (tertiary consumer)
ส่วนผู้กินสัตว์อื่นระดับสูงสุด (top carnivore) คือ ผู้บริโภคซึ่งอยู่บนสุดของโซ่อ�ห�รและไม่มีผู้ล่�เหยื่อ
(predators) ม�กินอีกแล้ว เช่น สิงโต และ (4) ผู้บริโภคซ�กพืชซ�กสัตว์ (scavenger) คือ สิ่งมีชีวิตที่กิน
ซ�กพืช ซ�กสัตว์ที่ต�ยแล้วเป็นอ�ห�ร เช่น นกแร้ง ไส้เดือนดิน และปลวก
พืชเป็นผู้ผลิต กว�งเป็นผู้บริโภคปฐมภูมิ สิงโตเป็นผู้บริโภคทุติยภูมิ
ภ�พที่ 1.1 ผู้ผลิตและผู้บริโภค (ที่ม� http://www.tutorvista.com)
3) ผู้ย่อยสล�ย (decomposer) คือ สิ่งมีชีวิตที่สร้�งอ�ห�รเองไม่ได้ เป็นพวกที่มีบทบ�ทในก�ร
ย่อยสล�ยซ�กสิ่งมีชีวิต โดยหลั่งเอนไซม์ออกม�นอกเซลล์เพื่อย่อยสล�ยซ�กพืช ซ�กสัตว์ แปรสภ�พ
จ�กส�รอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ให้เป็นส�รโมเลกุลเล็ก แล้วดูดซึมเข้�สู่เซลล์เพื่อใช้ประโยชน์ นอกจ�กนั้นยัง
แปรสภ�พส�รอินทรีย์บ�งชนิด เช่น กรดอะมิโน (amino acid) ให้เป็นแอมโมเนียซึ่งเป็นส�รอนินทรีย์
เรียกกิจกรรมที่จุลินทรีย์เปลี่ยนส�รอินทรีย์เป็นส�รอนินทรีย์ว่�มินเนอร�ลไลเซชัน (mineralization)
กระบวนก�รนี้มีคว�มสำ�คัญต่อก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�รพืชในดิน
ก�รดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่�งๆ ในธรรมช�ติ มีคว�มเกี่ยวข้องกัน คว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมี
ชีวิตทั้ง 3 กลุ่มของระบบนิเวศ มีก�รถ่�ยเทพลังง�นเป็นทอดจ�กผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคและผู้ย่อยสล�ย ก�ร
ไหลเวียน และก�รส่งต่อพลังง�นเป็นทอดๆ หรือปร�กฏก�รณ์ที่ “สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกินสิ่งมีชีวิตอีกชนิด
หนึ่งเพื่อก�รดำ�รงชีวิต” เรียกว่�โซ่อ�ห�ร (food chain, ภ�พที่ 1.1) และโซ่อ�ห�รก็มิได้มีเพียงโซ่เดียว
แต่มีหล�ยโซ่ซึ่งโซ่ต่�งๆ เหล่�นั้นมีคว�มเชื่อมโยงและไขว้กันไปม� เรียกว่� ส�ยใยอ�ห�ร (food web)
14 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย