Page 84 -
P. 84
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความถี่ของยีน 77
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลง
กำรคัดเลือก (selection)
การคัดเลือกแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ การคัดเลือกแบบธรรมชาติ (natural selection)
ส่วนใหญ่จะผ่านสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมแล้วต้นพืชนั้นสามารถอยู่รอดได้โดยไม่ได้ผ่านการ
ควบคุมสภาวะต่างๆ จากการควบคุมของนักวิจัย เช่น ภาวะน�้าท่วม สภาพแห้งแล้ง การระบาด
ของโรคแมลง เป็นต้น ส่วนการคัดเลือกอีกวิธี คือ การคัดเลือกจากมนุษย์ (artificial selection) ที่
ส่วนใหญ่มีการก�าหนดลักษณะทางฟีโนไทป์หรือจีโนไทป์ก่อนการคัดเลือก ท�าให้สัดส่วนของจ�านวน
ฟีโนไทป์หรือจีโนไทป์ที่ก�าหนดมีจ�านวนที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ความถี่ของยีนและจีโนไทป์เปลี่ยนแปลงด้วย
กรณีของยีนที่ควบคุมลักษณะเป็นยีนคู่เดียว มีจ�านวนจีโนไทป์ที่เกิดขึ้นได้ 3 แบบ คือ AA, Aa
และ aa การคัดเลือกจะมีค่า fitness เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นค่าการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตสามารถค�านวณ
ได้จากสัดส่วนของความถี่จีโนไทป์หลังการคัดเลือกกับความถี่จีโนไทป์ก่อนการคัดเลือก และท�าการหาค่า
relative fitness ได้จากการน�าค่า fitness ของจีโนไทป์ที่มีค่าสูงสุดมาหารค่า fitness ของทุกจีโนไทป์
ที่เกิดขึ้น โดยจีโนไทป์ไหนมีค่าสูงสุดจะได้ค่า relative fitness หรืออัตราส่วนของการอยู่รอดเท่ากับ 1
ซึ่งค่า relative fitness จะมีค่าที่เปลี่ยนแปลงไปเกิดจากค่า s คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของการคัดเลือก
(selective coefficient) ที่จะเป็นตัวก�าหนดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของจีโนไทป์ที่มีการคัดเลือก ส�าหรับ
การคัดเลือกมีหลายแบบดังตัวอย่างบางกรณี ดังนี้
1. กำรคัดเลือกลักษณะด้อยออกบำงส่วน (partial selection against recessive)
เมื่อก�าหนดให้ลักษณะนี้ควบคุมด้วยยีน 1 คู่ เกิดจีโนไทป์ 3 แบบ คือ AA, Aa และ aa โดยการ
เกิดจีโนไทป์ที่เป็น homozygous recessive เป็นลักษณะด้อยที่ต้องการคัดทิ้งบางส่วน เนื่องจาก
ลักษณะด้อยที่ประกอบในจีโนไทป์ Aa ไม่ได้มีการคัดทิ้งเพราะมีการข่มของยีน A แบบสมบูรณ์ท�าให้มีการ
อยู่รอดของลักษณะ AA และ Aa ในประชากร ซึ่งการคัดเลือกแบบนี้ ค่า relative fitness ที่เกิดกับ
จีโนไทป์ AA และ Aa จะเท่ากับ 1 เนื่องจากทั้ง 2 จีโนไทป์ คงอยู่ในประชากร ส่วนจีโนไทป์ aa จะถูกคัดทิ้ง
ดังนั้น ค่า relative fitness ของจีโนไทป์ aa มีค่าเท่ากับ 1 - s โดยการค�านวณจะเริ่มจากการสร้าง
ตารางที่ก�าหนดทุกจีโนไทป์ก่อน แล้วพิจารณาถึงความถี่จีโนไทป์ก่อนการคัดเลือกสามารถค�านวณได้
จากบทก่อนหน้าที่ค�านวณจากจ�านวนของจีโนไทป์นั้นหารด้วยจ�านวนจีโนไทป์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด สามารถ
แสดงการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนที่เกิดขึ้น ส่วนการก�าหนดค่า relative fitness จะก�าหนดจากความ
เป็นจริงของการคัดเลือก เมื่อน�าค่า relative fitness คูณกับค่าความถี่ของแต่ละจีโนไทป์ตั้งต้นก็จะได้
จ�านวนของแต่ละจีโนไทป์ที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องมีการค�านวณหาผลรวมของจีโนไทป์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดหลังจาก
ที่มีการถูกคัดเลือกมีค่าเท่ากับ p + 2pq + q (1 - s) = p + 2pq + q - sq = 1 - sq จากนั้นท�าการ
2
2
2
2
2
2
สร้างตารางเพื่อค�านวณหาความถี่ของยีน a ที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจากคัดเลือก ดังนี้