Page 9 -
P. 9
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กนกพร นุ่มทอง
ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน
“What is translation? Often, though not by any means always, it is
rendering the meaning of a text into another language in the way that the author
intended the text.” (Newmark, 1988: 5)
ปเตอร นิวมารก เห็นวา โดยทั่วไปแลว การแปลคือการนําความหมายจากตนฉบับเปนภาษาอื่น
ใหตรงกับความหมายของผูเขียน จะเห็นไดวา ปเตอร นิวมารก เนนที่ meanning กับ text สวน ยูจีน
ไนดา เนนเรื่องการสื่อสารเปนสําคัญ
สําหรับในประเทศจีนก็มีผูใหคําจํากัดความของการแปลไวหลากหลาย เปนตนวา จังเผยจี กลาว
วา
“翻译是运用一种语言把另一种语言所表达的内容准确而完整地重新表达出来的活动。”(张
培基,1983:VII.)
จังเผยจีมองการแปลเปนกิจกรรมการถายทอดทางภาษา ในขณะที่ สี่วจวิน เห็นวาการแปลเปน
กิจกรรมการสื่อสารขามวัฒนธรรม
“翻译是以符号转换为手段,意义再生为任务的一项跨文化的交际活动。”(许钧,2003:
75)
จากคําจํากัดความขางตน ภาระหนาที่และจุดมุงหมายของการแปล รวมถึงการจัดการเนื้อหานั้น
แตกตางกันออกไปตามทัศนะของแตละคน แตโดยภาพรวมแลวอาจกลาวไดวา การแปลเปนกระบวนการ
เปลี่ยนถายจากภาษาหนึ่งไปเปนอีกภาษาหนึ่งใหตรงกับความหมายดั้งเดิมใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได
มาตรฐานการแปลกับประวัติการแปลของจีน
มาตรฐานการแปลเปนเชนเดียวกับนิยามของคําวาการแปล คือมีผูกลาวถึงอยูมากหลายทฤษฎี
และมีรายละเอียดตางกันไป ที่เปนเชนนี้ สรุปสาเหตุได ๓ ประการ คือ
๑. การแปลมีประวัติความเปนมายาวนานและมีอยูในทุกชาติทุกภาษาที่มีการติดตอสัมพันธกับ
คนตางภาษา (หรือตางระดับภาษา หากเปนการแปลภายในภาษานั้นเอง) มาตรฐานการแปลจึงตางกัน
ออกไป ในแตละชาติแตละภาษา และแตกตางกันในแตละยุคสมัย
๒. งานแปลมีรูปแบบและเนื้อหาหลากหลาย จะใชมาตรฐานเดียวกันยอมมิได เปนตนวา การ
แปลวรรณกรรมยอมมีมาตรฐานแตกตางกับการแปลเอกสารธุรกิจ แมแตงานแปลงานประเภทเดียวกัน
๓